ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สุชาติ แก้วเจริญวิวัฒน์"
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
(ไม่แสดง 16 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน) | |||
บรรทัดที่ 7: | บรรทัดที่ 7: | ||
| term_start = 1 พฤษภาคม 2566 | | term_start = 1 พฤษภาคม 2566 | ||
| term_end = 29 สิงหาคม 2566<br>({{อายุปีเดือนวัน|2566|5|1|2566|8|29}}) | | term_end = 29 สิงหาคม 2566<br>({{อายุปีเดือนวัน|2566|5|1|2566|8|29}}) | ||
| president = [[ทศพล ทองประสิทธิ์วิศวกร]] | |||
| monarch = [[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวธรรมมาธิเบศร์]] | | monarch = [[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวธรรมมาธิเบศร์]] | ||
| deputy = {{Collapsible list|framestyle=border:none; padding:0; |title=ดูรายชื่อ|[[ทศพล ทองประสิทธิ์วิศวกร ที่ 2]]||[[พิเชษฐ์ เชียงกง]]|[[อภิสิทธิ์ สุทรเทพ]]|[[ณรงค์ สหเมชา]]|[[ชัยวัฒน์ หลวงฤดู]]}} | | deputy = {{Collapsible list|framestyle=border:none; padding:0; |title=ดูรายชื่อ|[[ทศพล ทองประสิทธิ์วิศวกร ที่ 2]]||[[พิเชษฐ์ เชียงกง]]|[[อภิสิทธิ์ สุทรเทพ]]|[[ณรงค์ สหเมชา]]|[[ชัยวัฒน์ หลวงฤดู]]}} | ||
| predecessor = [[อภิรักษ์ ราชพฤกษ์]] | | predecessor = [[อภิรักษ์ ราชพฤกษ์]] | ||
| successor = | | successor = [[ทศพล ทองประสิทธิ์วิศวกร ที่ 2]] | ||
| office1 = [[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการของไทย|รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ]] | | office1 = [[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการของไทย|รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ]] | ||
| predecessor1 = [[ชวาริน รุ่งวินิด]] | | predecessor1 = [[ชวาริน รุ่งวินิด]] | ||
บรรทัดที่ 16: | บรรทัดที่ 17: | ||
| termstart1 = 1 พฤษภาคม 2566 | | termstart1 = 1 พฤษภาคม 2566 | ||
| termend1 = 31 ตุลาคม 2566<br>({{อายุปีเดือนวัน|2566|5|1|2566|10|31}}) | | termend1 = 31 ตุลาคม 2566<br>({{อายุปีเดือนวัน|2566|5|1|2566|10|31}}) | ||
| primeminister1 = {{ubl| | | primeminister1 = {{ubl|ตนเอง|[[ทศพล ทองประสิทธิ์วิศวกร ที่ 2]]}} | ||
| birth_date = 27 มีนาคม | | birth_date = 27 มีนาคม (96 ปี) | ||
| birth_place = [[ | | birth_place = [[สกลนคร]] [[ประเทศไทย]] | ||
| father = | | father = กิติ แก้วเจริญวิวัฒน์ | ||
| mother = | | mother = วิลัยพร แก้วเจริญวิวัฒน์ | ||
| nickname = ชัย | | nickname = ชัย | ||
| party = [[ | | party = [[พรรคไทยสร้างชาติ|ไทยสร้างชาติ]] (2562–2566)<br>[[พรรคไทยดิจิทัล|ไทยดิจิทัล]] (2566–ปัจจุบัน) | ||
| spouse = {{marriage|[[ | | spouse = {{marriage|[[นันทนา แก้วเจริญวิวัฒน์|นันทนา แก้วเจริญวิวัฒน์]]|1 July 2502}} | ||
| children = {{hlist| | | children = {{hlist|ธนพร|วารี}} | ||
| residence = [[ทำเนียบรัฐบาล]]<br>[[ | | residence = [[ทำเนียบรัฐบาล]]<br>[[บ้านเจริญวิวัฒน์]] | ||
| alma_mater = [[ | | alma_mater = [[โรงเรียนบ้านท่าขาว]]<br>จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | ||
| occupation = {{flatlist| | | occupation = {{flatlist| | ||
* | * นักกฎหมาย | ||
* นักการเมือง}} | * นักการเมือง}} | ||
| net_worth = 514 ล้านบาท (พ.ศ. 2568) | |||
| net_worth = | |||
| order = คนที่ 10 | | order = คนที่ 10 | ||
| caption = | | caption = สุชาติ ใน พ.ศ. 2566 | ||
}} | }} | ||
'''สุชาติ แก้วเจริญวิวัฒน์''' {{post-nominals|country=THA|มปช|มวม}} (เกิด 27 มีนาคม พ.ศ. ไม่ทราบ) {{ชื่อเล่น|ชัย}} เป็น[[นักธุรกิจ]]และ[[นักการเมือง]]ชาวไทย [[นายกรัฐมนตรีไทย]]คนที่ 10 อดีต[[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการของไทย|รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ]] ภายหลังได้มี[[การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2566|การประชุมร่วมกันของรัฐสภา]]ในวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 สุชาติในฐานะ[[รายชื่อบุคคลที่ได้รับเสนอชื่อเป็นนายกรัฐมนตรีไทย พ.ศ. 2566|บุคคลซึ่งสมควรได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี]]ของ[[สมาชิกวุฒิสภา]] ได้รับความเห็นชอบให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีถัดจาก พลเอก [[อภิรักษ์ ราชพฤกษ์]] | '''สุชาติ แก้วเจริญวิวัฒน์''' {{post-nominals|country=THA|มปช|มวม}} (เกิด 27 มีนาคม พ.ศ. ไม่ทราบ) {{ชื่อเล่น|ชัย}} เป็น[[นักธุรกิจ]]และ[[นักการเมือง]]ชาวไทย [[นายกรัฐมนตรีไทย]]คนที่ 10 อดีต[[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการของไทย|รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ]] และอดีต[[ประธานวุฒิสภาไทย]] เคยเป็นผู้รักษาการแทนประธานาธิบดีในยุคของ [[ทศพล ทองประสิทธิ์วิศวกร]] ภายหลังได้มี[[การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2566|การประชุมร่วมกันของรัฐสภา]]ในวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 สุชาติในฐานะ[[รายชื่อบุคคลที่ได้รับเสนอชื่อเป็นนายกรัฐมนตรีไทย พ.ศ. 2566|บุคคลซึ่งสมควรได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี]]ของ[[สมาชิกวุฒิสภา]] ได้รับความเห็นชอบให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีถัดจาก พลเอก [[อภิรักษ์ ราชพฤกษ์]] | ||
== ปฐมวัยและการศึกษา == | |||
เศรษฐา ทวีสิน เกิดเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2505 ที่[[จังหวัดพระนคร]] โดยเติบโตในครอบครัวที่มีฐานะร่ำรวย<ref name="msn">{{Cite web |title=New Thai leader Srettha Thavisin is a wealthy property developer who didn't hide his political views |url=https://www.msn.com/en-my/news/world/new-thai-leader-srettha-thavisin-is-a-wealthy-property-developer-who-didn-t-hide-his-political-views/ar-AA1fBZSH |access-date=2023-08-22 |website=www.msn.com|language=en}}</ref> เขาเป็นบุตรเพียงคนเดียวของร้อยเอก อำนวย ทวีสิน<ref name="sretta-hierarchy">[https://archive.li.mahidol.ac.th/bitstream/handle/0280026809/4478/MH03-97.pdf คือ... แพทย์ผู้ให้ด้วยหัวใจ ธาดา ยิบอินซอย]</ref> และชดช้อย ทวีสิน (สกุลเดิม จูตระกูล)<ref name="sretta-hierarchy"/><ref name=":122">{{Cite web |title=ว่าที่นายกฯ คนที่ 30 "เศรษฐา ทวีสิน" ใต้เงาเพื่อไทย |url=https://www.thaipbs.or.th/news/content/329784 |access-date=2023-07-19 |website=Thai PBS}}</ref><ref name=":222">{{Cite web |title=รู้จัก 'เศรษฐา ทวีสิน' แคนดิเดตนายกฯ พรรคเพื่อไทย ผ่าน 4 มุมชีวิต |url=https://www.msn.com/th-th/news/other/รู้จัก-เศรษฐา-ทวีสิน-แคนดิเดตนายกฯ-พรรคเพื่อไทย-ผ่าน-4-มุมชีวิต/ar-AA1eg1tw |website=AmarinTV}}</ref><ref name="sretta-siblings">{{Cite web|date=2013-12-14|title=N-Parkตำนานที่ยังไม่มีบทสรุป|url=https://mgronline.com/daily/detail/9560000153655|website=mgronline.com|language=th}}</ref> โดยบิดาเสียชีวิตตั้งแต่เขาอายุสามขวบ<ref name="ancestors"/> ครอบครัวฝั่งบิดามีเชื้อสาย[[ชาวฮกเกี้ยน|จีนฮกเกี้ยน]]และ[[ชาวญวน|เวียดนาม]]จากต้นตระกูลคือ เซ็ก แซ่กอ กับนางหว่าง<ref name="ancestors2"/> ส่วนครอบครัวฝั่งยายสืบมาจากเลนำคิน ชาว[[จีนแคะ]]จาก[[ประเทศอินโดนีเซีย]] ที่เข้ามาตั้งรกรากในประเทศไทย<ref name="ancestors"/> | |||
เขามีศักดิ์เป็นหลานอาของคุณหญิงพิมพา สุนทรางกูร ภริยาของพลเอก [[ประจวบ สุนทรางกูร]] อดีต[[รายพระนามและชื่ออธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทย|อธิบดีกรมตำรวจ]] และอดีต[[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทย|รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย]]<ref name="ancestors"/> ส่วนสายสกุลทางมารดาเกี่ยวข้องกับตระกูลนักธุรกิจ[[ไทยเชื้อสายจีน]] 5 ตระกูล ได้แก่ ยิบอินซอย, จักกะพาก, จูตระกูล, [[ตระกูลล่ำซำ|ล่ำซำ]] และบุรณศิริ<ref name="sretta-hierarchy"/><ref name="sretta-siblings"/><ref name=":2">{{cite news |date=20 July 2023 |title=เปิดตัว "เศรษฐา ทวีสิน" เครือญาติ 5 ตระกูลธุรกิจยักษ์ใหญ่|work=Thansettakij |url=https://www.thansettakij.com/politics/571133}}</ref> | |||
เขาสำเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษาที่[[โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร]]<ref>[https://www.posttoday.com/politics/698620 เปิดประวัติ เศรษฐา ทวีสิน ว่าที่นายกรัฐมนตรีคนที่30]</ref> ปริญญาตรีสาขาเศรษฐศาสตร์ [[มหาวิทยาลัยแมสซาชูเซตส์]]<ref>{{cite news |title=Srettha an unlikely PM |url=https://www.bangkokpost.com/thailand/politics/2633974 |access-date=22 August 2023 |work=Bangkok Post |date=22 August 2023 |language=en}}</ref> และปริญญาโท สาขาการเงิน [[มหาวิทยาลัยบัณฑิตศึกษาแคลร์มอนต์]] (Claremont Graduate University) ใน[[สหรัฐ]]<ref>{{Cite web |date=2022-10-12 |title=ประวัติ “เศรษฐา ทวีสิน” เจ้าพ่ออสังหาฯ ว่าที่แคนดิเดตนายกฯ พรรคเพื่อไทย กับไลฟ์สไตล์สุดชิก |url=https://www.thairath.co.th/lifestyle/life/2524658 |access-date=2023-07-19 |website=Thairath}}</ref> | |||
== การทำงาน == | |||
หลังจากสำเร็จการศึกษาใน พ.ศ. 2529 เขาเดินทางกลับมาทำงานที่ประเทศไทยในฐานะผู้ช่วยผู้จัดการผลิตภัณฑ์ของ[[พรอคเตอร์ แอนด์ แกมเบิล]] (Procter & Gamble) เป็นระยะเวลา 4 ปี<ref name="auto3">{{Cite web|date=2023-04-19|title=Thai property tycoon Srettha eyes promotion to prime minister|url=https://asia.nikkei.com/Politics/Thai-election/Thai-property-tycoon-Srettha-eyes-promotion-to-prime-minister|access-date=2023-05-07|website=NIKKEI Asia|language=en}}</ref><ref name=":232">{{Cite web |title=รู้จัก 'เศรษฐา ทวีสิน' แคนดิเดตนายกฯ พรรคเพื่อไทย ผ่าน 4 มุมชีวิต |url=https://www.msn.com/th-th/news/other/รู้จัก-เศรษฐา-ทวีสิน-แคนดิเดตนายกฯ-พรรคเพื่อไทย-ผ่าน-4-มุมชีวิต/ar-AA1eg1tw |website=AmarinTV}}</ref> ต่อมาเขาร่วมกับอภิชาติ จูตระกูล และวันจักร์ บุรณศิริ ซึ่งทั้งสามเป็นลูกพี่ลูกน้องกันผ่านสายสกุลฝั่งมารดา<ref name="sretta-hierarchy"/><ref>{{Cite web|date=2016-01-17|title=ขับเคลื่อนวงการอสังหาฯไทยก้าวสู่ระดับโลก ฝันยิ่งใหญ่จอมทัพแสนสิริ “อภิชาติ จูตระกูล”|url=https://www.thairath.co.th/lifestyle/woman/563639|website=www.thairath.co.th|language=th}}</ref> ก่อตั้ง[[แสนสิริ]]ใน พ.ศ. 2531 ซึ่งกลายเป็นหนึ่งในธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย<ref>{{Cite web |date=2023-05-04 |title=Profile: Srettha Thavisin, Thailand’s next prime minister? |url=https://www.thaienquirer.com/49466/profile-srettha-thavisin-thailands-next-prime-minister/ |access-date=2023-05-07 |website=Thai Enquirer}}</ref> โดยภาระหน้าที่ส่วนใหญ่ของเขาประกอบด้วยการวางแผนเชิงยุทธศาสตร์, การบริหาร และการขับเคลื่อนธุรกิจที่กำลังเติบโตตามแผนของคณะกรรมการบริหารบริษัท | |||
ใน พ.ศ. 2563 เขาซื้อที่ดินที่แพงที่สุด ราคา 3.9 ล้านบาทต่อตาราง[[วา]] บนถนนสารสินติดกับ[[สวนลุมพินี]] ซึ่งเดิมเป็นที่ตั้งอาคารสำนักงานของ บมจ. ที ไลฟ์ ประกันชีวิต<ref>{{Cite web|date=2020-07-02|title=SIRI ปิดดีลที่ดินแพงสุด ผุดคอนโดฯ ซูเปอร์ลักชัวรี่ย่านสารสิน|url=https://prop2morrow.com/2020/07/02/siri-ปิดดีลที่ดินแพงสุดจากmbk-ต่อยอดคอนโดฯซูเปอร์ลักชัวรี่ย่านสารสิน/|website=Prop2Morrow|language=th}}</ref><ref>{{Cite web|date=2022-07-06|title=TCAP ถือหุ้น "เอ็มบีเค ไลฟ์ฯ" เพิ่ม-เคาะชื่อใหม่ "ที ไลฟ์ ประกันชีวิต”|url=https://www.kaohoon.com/news/543216|website=ข่าวหุ้นธุรกิจออนไลน์|language=th}}</ref> ด้วยการบริหารจัดการของเขา แสนสิริยังคงสามารถเติบโตได้แม้จะอยู่ในช่วง[[การระบาดทั่วของโควิด-19]]<ref>{{cite news |date=20 July 2023 |title=ย้อนรอย "เศรษฐา ทวีสิน" กับเส้นทางอาณาจักรหมื่นล้าน "แสนสิริ" |language=th |work=Thansettakij |url=https://www.thansettakij.com/thailand-elections/election-monitor/571166 |access-date=21 July 2023}}</ref> และก่อนได้รับการเสนอใน[[รายชื่อบุคคลที่ได้รับเสนอชื่อเป็นนายกรัฐมนตรีไทย พ.ศ. 2566|บัญชีรายชื่อผู้สมควรดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี]]ของ[[พรรคเพื่อไทย]]สำหรับ[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2566|การเลือกตั้งทั่วไป พ.ศ. 2566]] เขาได้โอนหุ้นทั้งหมดในแสนสิริ คิดเป็นสัดส่วน 4.4% ของทุนจดทะเบียนบริษัทในวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2566 ให้กับชนัญดา ทวีสิน ผู้เป็นบุตรสาวของเขา<ref>{{cite news |date=10 March 2023 |title=เศรษฐา ทวีสิน โอนหุ้นแสนสิริทั้งหมด 4.44% ให้ลูกสาว ลุยการเมืองเต็มที่ |work=Thansettakij |url=https://www.thansettakij.com/finance/stockmarket/558463 |access-date=21 July 2023}}</ref> | |||
== งานการเมือง == | |||
ระหว่าง[[วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557]] เขาได้ต่อต้านการเคลื่อนไหวของกลุ่ม [[กปปส.]] จนกระทั่งภายหลังการ[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557]] เขาเป็นหนึ่งในบุคคลที่ถูก[[คณะรักษาความสงบแห่งชาติ]]ซึ่งนำโดย พลเอก [[ประยุทธ์ จันทร์โอชา]] เรียกให้เข้ารายงานตัวที่[[หอประชุมกองทัพบก]] เทเวศร์<ref name=":132">{{Cite web |title=ว่าที่นายกฯ คนที่ 30 "เศรษฐา ทวีสิน" ใต้เงาเพื่อไทย |url=https://www.thaipbs.or.th/news/content/329784 |access-date=2023-07-19 |website=Thai PBS}}</ref> หลังจากนั้น เมื่อเกิด[[การระบาดทั่วของโควิด-19 ในประเทศไทย|การระบาดทั่วของโควิด-19]] และ[[การประท้วงในประเทศไทย พ.ศ. 2563–2564|การประท้วงซึ่งนำโดยกลุ่มเยาวชน]] เศรษฐาได้วิจารณ์การบริหารสถานการณ์ดังกล่าวของ[[คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 62|รัฐบาล]]ซึ่งมีประยุทธ์เป็นนายกรัฐมนตรีในขณะนั้น<ref>{{Cite news|title=Exclusive: ความหวัง เศรษฐา ทวีสิน ในวิกฤตโควิด และ “ปีแห่งการประท้วง”|language=th|work=BBC News ไทย|url=https://www.bbc.com/thai/thailand-55779403|access-date=2023-03-31}}</ref> | |||
เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566 [[พรรคเพื่อไทย]]ได้แต่งตั้งให้เขาเป็นประธานที่ปรึกษาหัวหน้า[[ครอบครัวเพื่อไทย]] โดยมีหน้าที่ให้คำปรึกษาหรือดำเนินการตามที่[[แพทองธาร ชินวัตร]] หัวหน้าครอบครัวเพื่อไทยมอบหมาย<ref>{{Cite web|date=2023-03-01|title=เพื่อไทย ตั้ง "เศรษฐา ทวีสิน" เป็นประธานที่ปรึกษาหัวหน้าครอบครัวเพื่อไทย|url=https://www.thairath.co.th/news/politic/2642483|url-status=live|access-date=2023-08-14|website=[[ไทยรัฐ]]|language=th}}</ref> | |||
=== การเลือกตั้ง สส. เป็นการทั่วไป พ.ศ. 2566 === | |||
[[ไฟล์:Srettha Thavisin - 20230326.jpg|220px|thumb|เศรษฐา ทวีสิน ในสัมภาษณ์การหาเสียง|left]] | |||
ใน[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2566|การเลือกตั้งทั่วไป พ.ศ. 2566]] เขาได้รับเลือกให้เป็นหนึ่งในสาม[[รายชื่อบุคคลที่ได้รับเสนอชื่อเป็นนายกรัฐมนตรีไทย พ.ศ. 2566|บุคคลซึ่งสมควรได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี]] (แคนดิเดต) ของ[[พรรคเพื่อไทย]]ในวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2566<ref>{{Cite web|last=matichon|date=2023-03-27|title=เพื่อไทย เคาะแล้ว 'ชัยเกษม นิติสิริ' แคนดิเดตนายกฯ ชื่อที่3|url=https://www.matichon.co.th/politics/news_3896099|website=มติชนออนไลน์|language=th}}</ref><ref>[https://www.matichon.co.th/politics/news_3912749 ตามคาด! เพื่อไทย ยื่น 3 ชื่อแคนดิเดตนายกฯ ‘อุ๊งอิ๊ง-เศรษฐา-ชัยเกษม’]</ref> เขามักได้รับความนิยมตามหลังแพทองธารในผลสำรวจบุคคลที่สนับสนุนให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เขาเริ่มหาเสียงจาก[[เขตคลองเตย]]ใน[[กรุงเทพมหานคร]] และกล่าวสุนทรพจน์ครั้งแรกที่[[จังหวัดพิจิตร]] ต้นเดือนเมษายน เขาประกาศว่าหากตนเป็นนายกรัฐมนตรี จะดำเนิน[[โครงการเติมเงินผ่านกระเป๋าเงินดิจิทัล 10,000 บาท]] ให้กับประชาชนสัญชาติไทยอายุ 16 ปีขึ้นไปทุกคน<ref>{{Cite news|date=5 เมษายน 2023|title=เลือกตั้ง 2566 : เศรษฐา แคนดิเดตนายกฯ เพื่อไทย ประกาศตัวเลข นโยบายกระเป๋าเงินดิจิทัล 10,000 บาท กระตุ้นเศรษฐกิจครั้งใหญ่|work=[[เดอะสแตนดาร์ด]]|url=https://thestandard.co/srettha-digital-wallet-policy/|url-status=live|access-date=7 ตุลาคม 2023}}</ref> กลางเดือนเดียวกัน เขากล่าวที่[[จังหวัดเลย]]ว่า พรรคเพื่อไทยจะไม่จัดตั้งรัฐบาลร่วมกับ[[พรรคพลังประชารัฐ]]และ[[พรรครวมไทยสร้างชาติ]] เพราะเป็นพรรคที่จัดตั้งขึ้นเพื่อสืบทอดอำนาจของ[[คณะรักษาความสงบแห่งชาติ]] ที่มีส่วนร่วมในการ[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557|รัฐประหาร พ.ศ. 2557]]<ref name=":132" /> | |||
หลังการเลือกตั้งในวันที่ 14 พฤษภาคม พรรคเพื่อไทยได้รับคะแนนเสียงเป็นลำดับที่สองตามหลัง[[พรรคก้าวไกล]] และเข้าร่วมจัดตั้งรัฐบาลของพรรคก้าวไกลร่วมกับอีก 6 พรรค โดยมีการลงนาม[[บันทึกความเข้าใจ]]ร่วมกัน<ref>{{Cite news |date=2023-05-15 |title=ประวัติ "พิธา ลิ้มเจริญรัตน์" ว่าที่นายกฯ คนที่ 30 ของประเทศไทย |publisher=[[Amarin TV]] |url=https://www.amarintv.com/news/detail/175838 |access-date=2023-07-21}}</ref> ในช่วงเวลาดังกล่าวเศรษฐาสนับสนุน[[พิธา ลิ้มเจริญรัตน์]] ซึ่งเป็นแคนดิเดตนายกรัฐมนตรีของพรรคก้าวไกลมาโดยตลอด<ref>{{Citation|title=เศรษฐา ให้กำลังใจ พิธา ตั้งรัฐบาลให้สำเร็จ ส่วนพรรคเพื่อไทย ถกรีแบรนด์พรรค เตรียมเลือกตั้งครั้งหน้าแล้ว|url=https://news.ch7.com/detail/649575|language=th|access-date=2023-08-25}}</ref><ref>{{Cite web|date=2023-07-06|title="เศรษฐา" เป็นกำลังใจให้ "พิธา" ผ่านด่านสว.|url=https://www.innnews.co.th/news/politics/news_579252/|website=INN News|language=th}}</ref> อย่างไรก็ดี ในการพิจารณาให้ความเห็นชอบบุคคลซึ่งสมควรได้รับการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีครั้งแรกของที่ประชุมร่วม[[รัฐสภาไทย|รัฐสภา]] (ซึ่งประกอบด้วย[[สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 26|สภาผู้แทนราษฎร]] และ[[วุฒิสภาไทย ชุดที่ 12|วุฒิสภา]]) เมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม พิธาได้รับคะแนนเสียงเห็นชอบให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีไม่ถึงกึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดของรัฐสภาตามที่[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560|รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2560]] กำหนด<ref>{{Cite web |date=2023-07-13 |title=Thai Parliament Blocks Pita in First Round of Prime Minister Selection |url=https://time.com/6294351/thailand-prime-minister-parliament-vote-pita/ |access-date=2023-07-19 |website=Time |language=en}}</ref> ต่อมาในวันที่ 19 กรกฎาคม รัฐสภามีมติห้ามเสนอชื่อพิธาซ้ำในสมัยประชุมเดียวกัน ส่งผลให้พรรคก้าวไกลมอบสิทธิ์การเป็นแกนนำจัดตั้งรัฐบาลให้พรรคเพื่อไทย โดยพรรคเพื่อไทยได้ยกเลิกบันทึกความเข้าใจฉบับดังกล่าว ต่อมา[[พรรคภูมิใจไทย]]เข้าร่วมรัฐบาลในวันที่ 7 สิงหาคม | |||
ภายหลัง[[ศาลรัฐธรรมนูญ (ประเทศไทย)|ศาลรัฐธรรมนูญ]]ตีตกคำร้องจากผู้ตรวจการแผ่นดินให้สืบสวนการขัดแย้งต่อรัฐธรรมนูญของมติรัฐสภาที่ห้ามไม่ให้เสนอชื่อพิธาอีกครั้ง ทำให้พรรคเพื่อไทยมีมติเสนอชื่อเศรษฐาให้ที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภาพิจารณาให้ความเห็นชอบในการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี<ref name=":14">{{Cite news |last=Limited |first=Bangkok Post Public Company |title=New PM vote set for Tuesday |language=en |work=Bangkok Post |url=https://www.bangkokpost.com/thailand/politics/2630775/new-pm-vote-set-for-tuesday |access-date=2023-08-17}}</ref><ref name=":24">{{Cite news |last=Limited |first=Bangkok Post Public Company |title=Charter court rejects pro-Pita petitions |language=en |work=Bangkok Post |url=https://www.bangkokpost.com/thailand/politics/2630598/charter-court-rejects-pro-pita-petitions |access-date=2023-08-17}}</ref> หลังจากนั้น[[พรรคพลังประชารัฐ]]และ[[พรรครวมไทยสร้างชาติ]]ก็เข้าร่วมรัฐบาลของพรรคเพื่อไทยเช่นกัน แม้จะขัดกับสัญญาที่ให้ไว้ก่อนการเลือกตั้ง แต่เศรษฐากล่าวว่ามีความจำเป็น<ref>{{Cite web|date=2023-08-21|title=Thai PM hopeful Srettha says alliance with military parties a necessary path|url=https://www.malaymail.com/news/world/2023/08/21/thai-pm-hopeful-srettha-says-alliance-with-military-parties-a-necessary-path/86374|access-date=2023-08-21|website=Malay Mail|language=en}}</ref><ref>{{Cite web|last=Mail|first=Pattaya|date=2023-08-12|title=PPRP to vote for Pheu Thai PM candidate unconditionally|url=https://www.pattayamail.com/thailandnews/pprp-to-vote-for-pheu-thai-pm-candidate-unconditionally-437993|access-date=2023-08-12|website=Pattaya Mail|language=en-US}}</ref><ref name=":022">{{Cite news|last=Limited|first=Bangkok Post Public Company|title=Pheu Thai coalition 'done'|work=Bangkok Post|url=https://www.bangkokpost.com/thailand/politics/2627951/pheu-thai-coalition-done|access-date=2023-08-12}}</ref> | |||
== การดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี == | |||
[[ไฟล์:Srettha Thavisin 20230822.jpg|right|thumb|220px|เศรษฐาให้สัมภาษณ์หลังการประชุมร่วมกันของรัฐสภาเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบบุคคลซึ่งสมควรได้รับการแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรีเมื่อ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2566 เสร็จสิ้น]] | |||
[[ไฟล์:President Joe Biden participates in a family photo with APEC leaders and guest leaders on November 16, 2023 in San Francisco, California.jpg|thumb|เศรษฐาถ่ายภาพร่วมกับผู้นำ[[เอเปค]]ในการประชุมที่[[ซานฟรานซิสโก]]เมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2566]] | |||
ใน[[การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย พ.ศ. 2566|การพิจารณาให้ความเห็นชอบบุคคลซึ่งสมควรได้รับการแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี]]รอบที่ 3 เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2566 นายแพทย์ [[ชลน่าน ศรีแก้ว]] หัวหน้าพรรคเพื่อไทย ได้เสนอชื่อ เศรษฐา ทวีสิน ให้รัฐสภาพิจารณาให้ความเห็นชอบ และเขาได้รับคะแนนเสียงเห็นชอบ 482 เสียง จากจำนวนสมาชิกที่ลงคะแนนทั้งหมด 728 คน ซึ่งเกินกึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดของรัฐสภาตามรัฐธรรมนูญ<ref>{{Cite web |last=JINTAMAS SAKSORNCHAI |first=Associated Press |date=2023-08-22 |title=Former Thai leader Thaksin goes to jail as political party linked to him wins vote to take power |url=https://thehill.com/homenews/ap/ap-international/ap-divisive-thai-ex-prime-minister-thaksin-returns-from-exile-as-party-seeks-to-form-new-government/ |access-date=2023-08-22 |website=The Hill |language=en-US}}</ref> ส่งผลให้เศรษฐาได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 30<ref name=":0">{{Cite web|title=Srettha Thavisin set to become Thailand's new prime minister after three months of political deadlock|url=https://www.msn.com/en-au/news/australia/srettha-thavisin-set-to-become-thailands-new-prime-minister-after-three-months-of-political-deadlock/ar-AA1fBIvL|access-date=2023-08-22|website=www.msn.com}}</ref> และคะแนนเห็นชอบส่วนหนึ่งในครั้งนี้มาจากอดีตสมาชิกของคณะรัฐประหารที่เคยมีส่วนร่วมในการรัฐประหารรัฐบาลของพรรคเพื่อไทยทั้ง 2 ครั้ง คือ [[คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ]] อาทิ พลตำรวจเอก [[เสรีพิศุทธ์ เตมียเวส]] หัวหน้า[[พรรคเสรีรวมไทย]] และ[[คณะรักษาความสงบแห่งชาติ]] อาทิ พลเอก [[ปรีชา จันทร์โอชา]], พลตำรวจเอก [[อดุลย์ แสงสิงแก้ว]], พลเอก [[ธนะศักดิ์ ปฏิมาประกร]], พลอากาศเอก [[ประจิน จั่นตอง]] เป็นต้น<ref>[https://www.bbc.com/thai/articles/cjjzl7119zqo มติรัฐสภา 482:165 โหวต เศรษฐา ทวีสิน นั่งนายกฯ 100 วันหลังเลือกตั้ง]</ref> เศรษฐาจึงเป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกที่ได้รับการเห็นชอบจากสมาชิกคณะรัฐประหารทั้ง 2 คณะข้างต้น[[ไฟล์:US Emb Kodec met TH PM Srettha Thavisin, 7 Sept 2023 04.jpg|thumb|เศรษฐาพบกับเอกอัครราชทูตสหรัฐ [[รอเบิร์ต เอฟ. โกเด็ก]] ที่ที่ทำการพรรคเพื่อไทยใน พ.ศ. 2566]] | |||
[[ไฟล์:TH PM Srettha Thavisin at the 78th UNGA, Sept 22, 2023.webp|thumb|เศรษฐากล่าวสุนทรพจน์ที่[[สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ]]ครั้งที่ 78 ใน พ.ศ. 2566]] | |||
[[พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว]] มีพระบรมราชโองการแต่งตั้งเศรษฐาเป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 30 ของประเทศไทย แทนที่ พลเอก [[ประยุทธ์ จันทร์โอชา]] เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2566<ref>[https://ratchakitcha.soc.go.th/documents/140D201S0000000000100.pdf ประกาศแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๔๐ ตอนพิเศษ ๒๐๑ ง หน้า ๑ วันที่ ๒๓ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๖</ref><ref>{{Cite web |title=1st LD: Srettha Thavisin elected as Thailand's new prime minister - China.org.cn |url=http://www.china.org.cn/world/Off_the_Wire/2023-08/22/content_106274969.htm |access-date=2023-08-22 |website=www.china.org.cn}}</ref><ref name="rd">{{Cite web |title=โปรดเกล้าฯ เศรษฐา เป็นนายกฯคนที่ 30 เตรียมอันเชิญพระบรมราชโองการ |url=https://www.khaosod.co.th/update-news/news_7828507 |access-date=2023-08-23 |website=www.khaosod.co.th}}</ref> โดยมีพิธีรับสนองพระบรมราชโองการในช่วงเย็นของวันถัดมา ณ ที่ทำการพรรคเพื่อไทย<ref>{{Cite news|date=2023-08-23|title=นายกฯ คนที่ 30: เศรษฐา ทวีสิน รับพระราชโองการ ประกาศ “4 ปีแห่งความเปลี่ยนแปลง”|work=[[บีบีซีไทย]]|url=https://www.bbc.com/thai/articles/cd13exexjkpo|url-status=live|access-date=2023-08-25}}</ref> ต่อมาในวันที่ 24 สิงหาคม เศรษฐาได้เข้าพบ พล.อ.ประยุทธ์ ที่[[ทำเนียบรัฐบาลไทย|ทำเนียบรัฐบาล]]<ref>{{Cite web|date=2023-08-24|title=นายกฯ คนที่ 30 “เศรษฐา ทวีสิน” ถึงทำเนียบรัฐบาล เข้าพบ “พล.อ.ประยุทธ์” แล้ว|url=https://www.thairath.co.th/news/politic/2719733|website=www.thairath.co.th|language=th}}</ref> นับเป็นครั้งแรกนับตั้งแต่[[การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475|การปฏิวัติ พ.ศ. 2475]] ที่นายกรัฐมนตรีซึ่งได้รับการแต่งตั้งใหม่ เข้าพบนายกรัฐมนตรีผู้ปฏิบัติหน้าที่ในรัฐบาลรักษาการ<ref>{{Cite web|date=2023-08-24|title=บันทึกประวัติศาสตร์ ครั้งแรกในรอบ 91 ปี 2 นายกฯ ส่งไม้ต่อบริหารประเทศ|url=https://www.thansettakij.com/politics/574262|website=thansettakij|language=th-TH}}</ref> วันต่อมาเขาลงพื้นที่ครั้งแรกหลังดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีที่[[จังหวัดภูเก็ต]]และต่อไปยัง[[จังหวัดพังงา]]ในวันรุ่งขึ้น<ref>{{Cite web|date=2023-08-25|title=“เศรษฐา“ ลงพื้นที่ ภูเก็ต-พังงา ฟังปัญหาเอกชนพร้อมหนุนท่องเที่ยว|url=https://www.tnnthailand.com/news/politics/154132/|website=tnnthailand|language=th}}</ref> ทั้งนี้ การเดินทางดังกล่าวเป็นไปในนามพรรคเพื่อไทย<ref>{{Cite web|date=2023-08-25|title="เศรษฐา" ประเดิมงานแรก นำทีมบุกภูเก็ต-พังงา ในนามพรรคเพื่อไทย ไม่ใช่ภารกิจนายกฯ|url=https://www.sanook.com/news/8993338/|website=www.sanook.com/news|language=th}}</ref> | |||
ต่อมาเขาได้พบกับนักธุรกิจชั้นนำ ได้แก่ [[วิชิต สุรพงษ์ชัย]] กับ [[อาทิตย์ นันทวิทยา]] จาก[[ธนาคารไทยพาณิชย์]], [[ฐาปน สิริวัฒนภักดี]] จาก[[ไทยเบฟเวอเรจ]], [[ศุภชัย เจียรวนนท์]] จาก[[เครือเจริญโภคภัณฑ์]], ปลิว ตรีวิศวเวทย์ จาก [[ช.การช่าง]], [[อัยยวัฒน์ ศรีวัฒนประภา]] จาก[[คิง เพาเวอร์]], [[จรีพร จารุกรสกุล]] จาก[[ดับบลิวเอชเอ คอร์ปอเรชั่น]] รวมถึงสนั่น อังอุบลกุล ประธาน[[สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย]]<ref>{{Cite web|date=2023-08-29|title=เศรษฐา ทวีสิน โพสต์ภาพ พบปะฟังความเห็นนักธุรกิจใหญ่|url=https://www.pptvhd36.com/news/%E0%B9%80%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%A9%E0%B8%90%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%88/204375|website=pptvhd36.com|language=th}}</ref> ถัดมาเขาได้พบกับ[[สุพัฒนพงษ์ พันธ์มีเชาว์]] และ[[หม่อมหลวงชโยทิต กฤดากร]] บุคลากรในทีมเศรษฐกิจของ[[พรรครวมไทยสร้างชาติ]] ซึ่งมีกระแสข่าวว่าจะได้โควต้ารัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน หลังการหารือดังกล่าว เศรษฐาประกาศว่าจะลดค่าไฟฟ้าและค่าน้ำมันดีเซลทันทีหลังการประชุมคณะรัฐมนตรีนัดแรก<ref>{{Cite web|date=2023-08-30|title=“เศรษฐา” ยัน ถกครม.นัดแรก ประกาศลดราคาค่าไฟ-ค่าน้ำมันดีเซล ทันที|url=https://www.thairath.co.th/news/politic/2721286|website=www.thairath.co.th|language=th}}</ref> | |||
ในวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2566 [[พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว]] มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งคณะรัฐมนตรีใหม่ โดยเศรษฐาควบตำแหน่ง[[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไทย|รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง]]<ref>{{Cite journal|title=ประกาศ แต่งตั้งรัฐมนตรี|journal=[[ราชกิจจานุเบกษา]]|url=https://ratchakitcha.soc.go.th/documents/140D214S0000000000100.pdf|date=2023-09-02|volume=140|pages=1-3|issue=พิเศษ 214 ง|access-date=2023-09-02}}</ref> สองวันต่อมาเขาพร้อมด้วย [[ปานปรีย์ พหิทธานุกร]] [[รายชื่อรองนายกรัฐมนตรีไทย|รองนายกรัฐมนตรี]]และ[[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย|รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ]] และ[[สุทิน คลังแสง]] [[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย|รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม]] ได้ร่วมรับประทานอาหารกลางวันและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับพลเอก [[ทรงวิทย์ หนุนภักดี]] ว่าที่[[รายชื่อผู้บัญชาการทหารสูงสุดของไทย|ผู้บัญชาการทหารสูงสุด]], พลเอก [[เจริญชัย หินเธาว์]] ว่าที่[[รายพระนามและชื่อผู้บัญชาการทหารบกไทย|ผู้บัญชาการทหารบก]] และพลเรือเอก [[อะดุง พันธุ์เอี่ยม]] ว่าที่[[รายชื่อผู้บัญชาการทหารเรือไทย|ผู้บัญชาการทหารเรือ]] ณ โรงแรมโรสวู้ด กรุงเทพ ถนนเพลินจิต<ref>{{Cite web|date=2023-09-03|title=ชื่นมื่น "เศรษฐา" ควง "ปานปรีย์-สุทิน" พบบิ๊กเหล่าทัพ คุยนโยบายทำงานร่วมกัน|url=https://www.bangkokbiznews.com/politics/1086677|website=bangkokbiznews|language=th}}</ref> วันถัดจากนั้นเขากล่าวว่าตนกับพลเอกทรงวิทย์จะเข้าร่วมประชุม[[สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ]]ในช่วงกลางเดือนกันยายน เนื่องจากมีประเด็นการเจรจาด้านความมั่นคงกับสหรัฐ<ref>{{Cite web|date=2023-09-04|title=‘เศรษฐา’บอกคุยผบ.เหล่าทัพเก็บข้อมูล-เกณฑ์ทหารรอแถลงร่วมกับกองทัพ|url=https://www.bangkokbiznews.com/politics/1086756|website=bangkokbiznews|language=th}}</ref> | |||
เศรษฐาได้นำคณะรัฐมนตรีชุดใหม่ รวมจำนวน 33 คน เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทถวายสัตย์ปฏิญาณก่อนเข้ารับหน้าที่ ในช่วงบ่ายของวันที่ 5 กันยายน<ref>{{Cite news|title=นายกรัฐมนตรีนำคณะรัฐมนตรีชุดใหม่ เข้าเฝ้าฯ ถวายสัตย์ปฏิญาณก่อนเข้ารับหน้าที่|url=https://www.thaigov.go.th/news/contents/details/71947|date=2023-05-09|access-date=2023-05-09|work=[[ทำเนียบรัฐบาลไทย]]}}</ref> หลังจากนั้นเขากล่าวว่ารัฐบาลจะฟื้นฟู[[นิติธรรม|หลักนิติธรรม]]ที่เข้มแข็ง มีประสิทธิภาพ โปร่งใส ภายใต้หลักการมีส่วนร่วมของประชาชน และจะสร้างความเท่าเทียมเพื่อเปลี่ยนไทยสู่ประเทศที่มีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืนในอนาคต<ref name="matter-afteroath">{{Cite web|date=2023-09-05|title=“ผมและ ครม. จะน้อมนำกระแสพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมาเป็นแนวทางปฏิบัติ” เศรษฐา ทวีสิน แถลงหลังถวายสัตย์|url=https://thematter.co/brief/212208/212208|website=The MATTER|language=en-US}}</ref> ในวันรุ่งขึ้นเขาได้นัดประชุมคณะรัฐมนตรีเป็นกรณีพิเศษ<ref>{{Cite web|title=นายกฯเตรียมนำ ครม.เข้าถวายสัตย์ฯ 5 ก.ย.นี้|url=https://www.thaipbs.or.th/news/content/331227|website=Thai PBS|language=th}}</ref> อีกทั้งมีการเผยแพร่[[การแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 63|คำแถลงนโยบายต่อรัฐสภา]]แก่สื่อมวลชน<ref>{{Cite web|date=2023-09-05|title=เปิดคำแถลงนโยบายรัฐบาล ‘เศรษฐา’ ต่อรัฐสภา วางกรอบ 3 ระยะ ฟื้นเศรษฐกิจ|url=https://www.bangkokbiznews.com/politics/1087110|website=bangkokbiznews|language=th}}</ref> | |||
เขาลงพื้นที่[[ภาคอีสาน (ประเทศไทย)|ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ]]ครั้งแรกในฐานะนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2566<ref>{{Cite web|date=2023-09-07|title=“เศรษฐา” บินด่วนถึงขอนแก่น ติดตามน้ำท่วม ล่าสุดสถานการณ์คลี่คลายในทางที่ดี|url=https://www.thairath.co.th/news/politic/2723427|website=www.thairath.co.th|language=th}}</ref> ก่อน[[การแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 63|แถลงนโยบายต่อรัฐสภา]]ในอีก 4 วันถัดจากนั้น<ref name="matter-afteroath"/> ภายหลังเสร็จสิ้นการแถลงนโยบายซึ่งใช้เวลา 2 วัน (11 และ 12 กันยายน) คณะรัฐมนตรีจึงประชุมอย่างเป็นทางการนัดแรกในวันรุ่งขึ้น (13 กันยายน) โดยเขาได้แต่งตั้ง[[คณะกรรมการยุทธศาสตร์ซอฟต์พาวเวอร์แห่งชาติ]] โดยมีตนเองเป็นประธานกรรมการ, [[แพทองธาร ชินวัตร]] เป็นรองประธานกรรมการ และมีกรรมการอื่น เช่น [[ชฎาทิพ จูตระกูล]], [[พิมล ศรีวิกรม์]], [[หม่อมราชวงศ์เฉลิมชาตรี ยุคล]], [[ดวงฤทธิ์ บุนนาค]] ,[[เสริมคุณ คุณาวงศ์]],[[วิเชียร ฤกษ์ไพศาล]] เป็นต้น โดยมีนายแพทย์ [[สุรพงษ์ สืบวงศ์ลี]] เป็นกรรมการและเลขานุการ<ref>{{Cite web|date=2023-09-13|title=เชฟชุมพล – นิค จีนี่ – ดวงฤทธิ์ นั่งกรรมการยุทธศาสตร์ซอฟต์พาวเวอร์ ดึง ‘หมอเลี้ยบ’ เป็นกรรมการและเลขานุการ|url=https://themomentum.co/report-softpower-committee/|language=en-US}}</ref> เขายังแต่งตั้ง[[นลินี ทวีสิน]] เป็น[[ผู้แทนการค้าไทย]]อีกด้วย<ref>{{Cite news|title=เศรษฐา ตั้ง นลินี ทวีสิน นั่งที่ปรึกษานายกฯ-ผู้แทนการค้าไทย|url=https://www.prachachat.net/politics/news-1392625|date=13 กันยายน 2023|access-date=13 กันยายน 2023|work=[[ประชาชาติธุรกิจ]]}}</ref> 2 วันถัดมา (15 กันยายน) เขาได้แต่งตั้งคณะที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี โดยมี[[กิตติรัตน์ ณ ระนอง]] อดีตรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังใน[[คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 60|รัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร]] เป็นประธานที่ปรึกษา<ref name=":01">{{Cite news|date=15 กันยายน 2023|title=“เศรษฐา” เซ็นตั้ง 9 ที่ปรึกษานายกฯ “กิตติรัตน์” นั่ง ประธาน พ่วงชื่อ “เทวัญ-พิมล-พิชิต”|work=[[ไทยรัฐ]]|url=https://www.thairath.co.th/news/politic/2725372|url-status=live|access-date=15 กันยายน 2023}}</ref> | |||
ต่อมาเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2566 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบให้แต่งตั้งคณะกรรมการอีก 2 ชุด คือ คณะกรรมการนโยบาย[[โครงการเติมเงินผ่านกระเป๋าเงินดิจิทัล 10,000 บาท]]<ref>{{Cite news|date=3 ตุลาคม 2023|title=เปิดหน้า บอร์ดคุมแจกเงินดิจิทัล 10,000 บาท 28 คน มีบิ๊กต่อ ผบ.ตร.ด้วย|work=[[ประชาชาติธุรกิจ]]|url=https://www.prachachat.net/breaking-news/news-1407347|url-status=live|access-date=16 ตุลาคม 2023}}</ref> และ[[พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 28 กรกฎาคม 2567#คณะกรรมการจัดงานเฉลิมพระเกียรติ|คณะกรรมการอำนวยการจัดงาน]][[พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 28 กรกฎาคม 2567]] โดยตนเองเป็นประธานกรรมการทั้ง 2 ชุด<ref>{{Cite news|date=3 ตุลาคม 2023|title=รัฐบาล ตั้ง 2 คณะกรรมการชุดใหญ่ จัดงานเฉลิมพระเกียรติครบ 6 รอบ ร.10|work=[[ไทยรัฐ]]|url=https://www.thairath.co.th/news/politic/2729990|url-status=live|access-date=18 เมษายน 2024}}</ref> ในวันเดียวกันเกิด[[เหตุกราดยิงที่สยามพารากอน]] เขาสั่งการให้พลตำรวจเอก [[ต่อศักดิ์ สุขวิมล]] [[รายพระนามและชื่ออธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทย|ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ]] พร้อมด้วยคณะทำงาน ลงพื้นที่ติดตามสถานการณ์ และรายงานความคืบหน้าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นให้ทราบเป็นระยะ<ref>{{Cite news|date=3 ตุลาคม 2023|title=นายกฯ เผย ผบ.ตร. รุดไปพารากอน “ชฎาทิพ” ผู้บริหารรีบออกจากห้องประชุมติดตามสถานการณ์|work=[[ไทยรัฐ]]|url=https://www.thairath.co.th/news/politic/2730061|url-status=live|access-date=3 ตุลาคม 2023}}</ref> ภายหลังเหตุการณ์สงบลง เขาได้กล่าวแสดงความเสียใจและให้กำลังใจแก่ครอบครัวของผู้เสียชีวิตและผู้บาดเจ็บ<ref>{{Cite news|date=3 ตุลาคม 2023|title=“ผมขอแสดงความเสียใจอย่างสุดซึ้ง” นายกฯ เศรษฐา กล่าวถึงเหตุยิงที่พารากอน|work=[[เดอะ แมทเทอร์]]|url=https://thematter.co/brief/214297/214297|url-status=live|access-date=3 ตุลาคม 2023}}</ref> อีกทั้งได้เข้าตรวจสอบสถานที่เกิดเหตุ<ref>{{Cite web|date=2023-10-03|title=นายกฯ รุดตรวจเหตุยิงกันที่พารากอน จ่อเข้มมาตรการรักษาความปลอดภัย|url=https://www.thairath.co.th/news/politic/2730131|website=www.thairath.co.th|language=th}}</ref> และเยี่ยมผู้ได้รับบาดเจ็บ<ref>{{Cite web|title=ผบ.ตร.เผยเด็ก 14 ปีมีประวัติรักษาจิตเวช ตร.ตรวจบ้านหาหลักฐานเพิ่ม|url=https://www.thaipbs.or.th/news/content/332399|website=Thai PBS|language=th}}</ref> ในช่วงค่ำวันเดียวกัน วันต่อมาในพิธีเปิดโซนเอสซีบี เอกซ์ เน็กซ์ เทค ในอาคารดังกล่าว เขากล่าวว่าจะไม่ให้เกิดเหตุการณ์กราดยิงเช่นนี้อีก และว่ารัฐบาลให้ความสำคัญกับการป้องกันและความปลอดภัยของประชาชน<ref>[https://www.thaigov.go.th/news/contents/details/72923 นายกรัฐมนตรีเปิดงาน “SCBX NEXT TECH” เทคคอมมูนิตี้แห่งโลกอนาคตในยุคดิจิทัล สร้างกลุ่มคนดิจิทัล ขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ให้มีความเจริญก้าวหน้า]</ref> อีกทั้งกล่าวว่ามีกำหนดเดินทางไปพบเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐประชาชนจีนเพื่อรายงานเหตุการณ์และขอโทษด้วยตนเอง<ref>{{Cite web|date=2023-10-04|title=นายกฯ โพสต์ "ผมกลับมาพารากอน" หวังสร้างความเชื่อมั่น ลั่นเตรียมเข้าขอโทษทูตจีน|url=https://www.sanook.com/news/9061718/|website=www.sanook.com/news|language=th}}</ref> | |||
ต่อมาเมื่อวันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2567 คณะรัฐมนตรีมีมติแต่งตั้งคณะกรรมการกำหนดเป้าหมายและนโยบายกำลังคนภาครัฐเพื่อดำเนินงานต่อเนื่องจากสมัยรัฐบาลประยุทธ์ โดยเศรษฐาเป็นรองประธานกรรมการในฐานะ[[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไทย|รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง]]<ref>{{Cite news|date=3 มีนาคม 2024|title=สรุปข่าวการประชุมคณะรัฐมนตรี 3 มีนาคม 2567|work=[[รัฐบาลไทย]]|url=https://www.thaigov.go.th/news/contents/details/79743|url-status=live|access-date=18 เมษายน 2024}}</ref> | |||
ในวันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2567 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ซึ่งเศรษฐาเป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการในฐานะ[[นายกรัฐมนตรีไทย|นายกรัฐมนตรี]] ให้เขาพ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง โดย[[พิชัย ชุณหวชิร]] มารับตำแหน่งแทน<ref>{{Cite news|date=28 เมษายน 2024|title=โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง ครม. “เศรษฐา 1/1”|work=[[บีบีซีไทย]]|url=https://www.bbc.com/thai/articles/c19d0nn9r3ro|url-status=live|access-date=28 เมษายน 2024}}</ref>อนึ่งลายมือชื่อใน[[ธนบัตรไทย]]ของนายเศรษฐาแตกต่างจากลายมือชื่อในหนังสือราชการอย่างสิ้นเชิง | |||
ต่อมาเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2567 ศาลรัฐธรรมนูญได้วินิจฉัยถอดถอนเศรษฐาพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี จากกรณีทูลเกล้าฯ แต่งตั้ง[[พิชิต ชื่นบาน]] เป็น[[รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีไทย|รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี]] ทั้ง ๆ ที่พิชิตเป็นบุคคลที่ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามในการดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี <ref>{{Cite news|date=14 สิงหาคม 2024|title=‘เศรษฐา’ ไม่รอด! ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย ชี้ชะตาเศรษฐาพ้นเก้าอี้นายกฯ ทันที|work=เดอะ แมทเทอร์|url=https://thematter.co/brief/230118/230118|url-status=live|access-date=14 สิงหาคม 2024}}</ref> | |||
== ข้อวิจารณ์ == | |||
เมื่อวันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2566 [[ชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์]] ยื่นกล่าวโทษเศรษฐาต่อพลตำรวจเอก [[สุรเชษฐ์ หักพาล]] รองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ให้สืบสวนการซื้อที่ดินของเศรษฐาเมื่อปี พ.ศ. 2563 ซึ่งชูวิทย์อ้างว่าเศรษฐาและ[[แสนสิริ]]มีพฤติการณ์หลบเลี่ยงภาษี<ref>{{Cite news |last=Limited |first=Bangkok Post Public Company |title=Whistleblower asks police to probe PM candidate's ex-company |language=en |work=Bangkok Post |url=https://www.bangkokpost.com/thailand/politics/2631233/whistleblower-asks-police-to-probe-pm-candidates-ex-company |access-date=2023-08-17}}</ref> ต่อมาอุทัย อุทัยแสงสุข ประธานผู้บริหารสายงานปฏิบัติการ บริษัท แสนสิริ จำกัด (มหาชน) ออกแถลงการณ์ชี้แจง โดยระบุว่าสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินแปลงดังกล่าวระหว่างแสนสิริกับผู้ขาย กำหนดให้ผู้ขายเป็นผู้รับผิดชอบภาษีอากร ค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายในการโอนกรรมสิทธิ์ทั้งหมด ประกอบกับเป็นหน้าที่ตามกฎหมายของผู้ขายในการเสียภาษีอากรข้างต้นด้วย หลังจากนั้นเศรษฐาได้ยื่นฟ้องร้องชูวิทย์ในข้อหาหมิ่นประมาทและเรียกร้องค่าเสียหายจำนวน 500 ล้านบาท<ref>{{Cite news |last=Limited |first=Bangkok Post Public Company |title=PM candidate Srettha suing Chuvit |language=en |work=Bangkok Post |url=https://www.bangkokpost.com/thailand/politics/2624937/pm-candidate-srettha-suing-chuvit |access-date=2023-08-17}}</ref> | |||
หลังการลงมติรัฐสภาเสียงข้างมากรับรองการเป็นนายกรัฐมนตรีของเศรษฐา เขาถูกวิจารณ์โดย[[สมบัติ บุญงามอนงค์]] ผู้สนับสนุนและลงคะแนนให้พรรคเพื่อไทย รวมถึงคาดหวังให้เศรษฐาดำรงตำแหน่งในช่วงก่อนการเลือกตั้ง ว่าเศรษฐาได้มาซึ่งตำแหน่งจากการ "ถอนตัวจากพรรคฝ่ายประชาธิปไตยแล้วไปจับมือกับพรรคสืบทอดอำนาจ"<ref>{{cite web|url=https://www.matichon.co.th/politics/news_4142164|title=บก.ลายจุด เล่าเหตุผล ‘ไม่สามารถใช้คำว่ายินดี’ แม้กาปาร์ตี้ลิสต์พท. เคยหวังเศรษฐานั่งนายกฯ|date=2023-08-22|work=มติชน}}</ref> | |||
ในห้วง[[การแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 63|การแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี]]ต่อรัฐสภาเมื่อวันที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2566 [[ศิริกัญญา ตันสกุล]] รองหัวหน้า[[พรรคก้าวไกล]]และหัวหน้าทีมเศรษฐกิจของพรรค วิจารณ์คำแถลงนโยบายของรัฐบาลเศรษฐาว่าคลุมเครือและไม่มีเป้าหมายหรือกรอบเวลา ศิริกัญญากล่าวว่า "คำแถลงนโยบายนี้ก็ไม่แตกต่างไปจากเอกสารที่ออกมาก่อนหน้า ไม่ได้บอกอะไร มีแค่คำพูดกว้าง ๆ ไม่มีตัวชี้วัดและมีแต่คำขยายเต็มไปหมด ถ้าบอกว่านี่คือจีพีเอส ประเทศก็คงหลงทาง ว่างเปล่า"<ref>{{Cite news |last=<!--Check author names--> |first= |title=High hopes for policy statement |language=en |work=Bangkok Post |url=https://www.bangkokpost.com/thailand/politics/2644734/high-hopes-for-policy-statement |access-date=2023-09-11}}</ref><ref>{{Cite web |title=New Thai PM delivers his policy statement in parliament |url=https://www.thaipbsworld.com/new-thai-pm-delivers-his-policy-statement-in-parliament/ |access-date=2023-09-11 |website=www.thaipbsworld.com |language=en-US}}</ref><ref>{{Cite news |last=<!--Check author names--> |first= |title=Move Forward Party slams 'vague' Srettha policy statement |language=en |work=Bangkok Post |url=https://www.bangkokpost.com/thailand/politics/2645150/move-forward-party-slams-vague-srettha-policy-statement |access-date=2023-09-11}}</ref> | |||
== ชีวิตส่วนตัว == | |||
ชีวิตของเศรษฐาในช่วงวัยเด็กมักป่วยบ่อย และตรวจพบว่าไตข้างหนึ่งไม่แข็งแรง จึงต้องผ่าตัดเอาไตข้างดังกล่าวออก ด้วยเหตุนี้จึงเน้นรักษาสุขภาพให้แข็งแรง เขามักรับประทานผักก่อนอาหารจานหลักเสมอ<ref>[https://www.prachachat.net/d-life/news-1378111 ส่องชีวิตและร่างกายที่คนไม่เคยรู้ นายกฯใหม่ “เศรษฐา ทวีสิน”]</ref> เขาเคยให้สัมภาษณ์ยอมรับว่าตนมีบุคลิกขึงขัง จริงจัง แต่มีความประนีประนอม<ref>{{Cite web|date=2013-03-12|title=เศรษฐา ทวีสิน "ผมไม่เคยก๊อบปี้ชีวิตใคร เป็นแบบนี้ตั้งแต่เกิด"|url=https://www.sanook.com/money/78256/|website=www.sanook.com/money|language=th}}</ref> | |||
ในวันที่ได้รับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เขามีส่วนสูง 192 เซนติเมตร เป็นผู้นำรัฐบาลในกลุ่ม[[สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้|อาเซียน]]ที่มีความสูงมากที่สุดในประเทศไทย และสูงเป็นอันดับสามของโลก รองจากเอดี รามา นายกรัฐมนตรี[[ประเทศแอลเบเนีย|แอลเบเนีย]] และ[[อาเล็กซานดาร์ วูชิช]] [[ประธานาธิบดีเซอร์เบีย]]<ref>{{Cite web|title=Srettha is the world’s second tallest leader|url=https://www.thaipbsworld.com/srettha-is-the-worlds-second-tallest-leader/|website=www.thaipbsworld.com|language=en-US}}</ref> | |||
เขาสมรสกับแพทย์หญิง[[พักตร์พิไล ทวีสิน|พักตร์พิไล]] (สกุลเดิม: ปลัดรักษา) มีบุตรด้วยกัน 3 คน เป็นชาย 2 คน และหญิง 1 คน เขายังเป็นหนึ่งในกลุ่มแฟนคลับของ[[สโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูล]]<ref>[https://www.prachachat.net/d-life/news-423537 คุยกับ “เศรษฐา ทวีสิน” แฟนหงส์ที่ไม่ตื่นเต้นกับการที่ลิเวอร์พูลจะคว้าแชมป์ลีกในรอบ 30 ปี]</ref> โดยใน[[ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก นัดชิงชนะเลิศ 2018|นัดชิงชนะเลิศของยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกเมื่อปี พ.ศ. 2561]] เศรษฐาได้จองแพกเกจวีไอพีและร่วมฉลองแชมป์กับลิเวอร์พูลที่โรงแรมในกรุงเคียฟด้วย<ref>{{Cite web|date=2018-05-14|title='เศรษฐา'ปิดเลานจ์กลางกรุงเคียฟ ฉลอง'หงส์แดง'แชมป์ยุโรป|url=https://www.dailynews.co.th/sports/643422|website=dailynews|language=th}}</ref> นอกจากนี้เขายังชอบสะสมกระเป๋าเดินทางขนาดใหญ่ และเคยมีการจัดแสดงคอลเลกชันดังกล่าวต่อสาธารณะในปี พ.ศ. 2565<ref>{{Cite web|date=2022-06-17|title=เปิดหีบของสะสม"เศรษฐา ทวีสิน"ครั้งแรก!!|url=https://www.bangkokbiznews.com/business/1010584|website=bangkokbiznews|language=th}}</ref> | |||
เขาใช้[[ทวิตเตอร์|เอกซ์]]เป็นช่องทางสื่อสารออนไลน์ตั้งแต่ พ.ศ. 2552<ref>[https://www.prachachat.net/d-life/news-529800 ชวน “เศรษฐา ทวีสิน” คุยนอกทวิตเตอร์ ปังทุกประเด็น เศรษฐกิจ-สังคม-การเมือง]</ref> | |||
== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ == | |||
เศรษฐา ทวีสิน ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ในประเทศ ดังนี้<ref>{{Cite news|title=โปรดเกล้าฯ พระราชทานเครื่องราชฯ แก่ นายเศรษฐา ทวีสิน|url=https://www.khaosod.co.th/breaking-news/news_777777844976|last=|date=20 กรกฎาคม 2024|access-date=20 กรกฎาคม 2024|work=[[ข่าวสด]]}}</ref> | |||
{{ม.ป.ช.|2567}}<ref name="เศรษฐา">ราชกิจจานุเบกษา, [https://ratchakitcha.soc.go.th/documents/37771.pdf พระบรมราชโองการ ประกาศ เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์], เล่ม ๑๔๑ ตอนที่ ๔๗ ข หน้า ๑, ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๖๗</ref> | |||
{{ม.ว.ม.|2567}}<ref name="เศรษฐา"/> | |||
== ดูเพิ่ม == | |||
* [[แสนสิริ]] | |||
* [[พรรคเพื่อไทย]] | |||
* [[คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 63]] | |||
== ลำดับสาแหรก == | |||
{{ahnentafel top|width=100%|ลำดับสาแหรกของเศรษฐา ทวีสิน<ref name="ancestors">{{cite web |url= https://www.prachachat.net/d-life/news-1384187 |title= เปิดสาแหรก “เศรษฐา ทวีสิน” สายเลือดมหาเศรษฐี 10 ตระกูลดัง |author= |date= 2 กันยายน 2566 |work= ประชาชาติธุรกิจ |publisher=|accessdate= 5 กันยายน 2023}}</ref><ref name="ancestors2">{{cite web |url= https://www.thebetter.co.th/news/world/7100 |title= ตำนาน'คนแซ่เกา'ผู้สร้างบ้านให้มนุษย์ บรรพบุรุษของเศรษฐา ทวีสิน |author= |date= 22 สิงหาคม 2566 |work= The Better |publisher=|accessdate= 5 สิงหาคม 2024}}</ref>}} | |||
{{ahnentafel-compact5 | |||
| style = font-size: 90%; line-height: 110%; | |||
| border = 1 | |||
| boxstyle = padding-top: 0; padding-bottom: 0; | |||
| boxstyle_1 = background-color: #fcc; | |||
| boxstyle_2 = background-color: #fb9; | |||
| boxstyle_3 = background-color: #ffc; | |||
| boxstyle_4 = background-color: #bfc; | |||
| boxstyle_5 = background-color: #9fe; | |||
| 1 = 1. '''เศรษฐา ทวีสิน''' | |||
| 2 = 2. อำนวย ทวีสิน | |||
| 3 = 3. ชดช้อย ทวีสิน | |||
| 4 = 4. เอี๊ยง ทวีสิน | |||
| 5 = 5. ทองดี ทวีสิน | |||
| 6 = 6. ชู จูตระกูล | |||
| 7 = 7. มีเลียน ลายเลิศ | |||
| 8 = 8. กีกุ่ย ทวีสิน | |||
| 9 = 9. ผาด | |||
| 10 = | |||
| 11 = | |||
| 12 = | |||
| 13 = | |||
| 14 = 14. เลนำ คิน | |||
| 15 = 15. โอลัน จิน | |||
| 16 = 16. กิมเซ็ง แซ่กอ | |||
| 17 = 17. แข | |||
| 18 = 18. พัฒน์ | |||
| 19 = 19. ผ่อง | |||
| 20 = | |||
| 21 = | |||
| 22 = | |||
| 23 = | |||
| 24 = | |||
| 25 = | |||
| 26 = | |||
| 27 = | |||
| 28 = | |||
| 29 = | |||
| 30 = | |||
| 31 = | |||
}} | |||
{{ahnentafel bottom}} | |||
== อ้างอิง == | |||
{{รายการอ้างอิง}} | |||
== แหล่งข้อมูลอื่น == | |||
* {{Twitter|Thavisin}} | |||
* {{Facebook|Thavisin.Official}} | |||
{{เริ่มกล่อง}} | |||
{{สืบตำแหน่ง | |||
| รูปภาพ = Seal of the Office of the Prime Minister of Thailand.svg | |||
| ตำแหน่ง = [[นายกรัฐมนตรีไทย]] | |||
| คนที่ = 30 | |||
| จำนวนตำแหน่ง = | |||
| ก่อนหน้า = [[ประยุทธ์ จันทร์โอชา]] | |||
| จำนวนก่อนหน้า = | |||
| ถัดไป = [[แพทองธาร ชินวัตร]]<br>{{small|([[ภูมิธรรม เวชยชัย]] รักษาราชการแทน)}} | |||
| จำนวนถัดไป = | |||
| ช่วงเวลา = 22 สิงหาคม พ.ศ. 2566 – 14 สิงหาคม พ.ศ. 2567 | |||
}} | |||
{{สืบตำแหน่ง | |||
| รูปภาพ = Seal of the Ministry of Finance of Thailand.svg | |||
| ตำแหน่ง = [[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไทย|รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง]] | |||
| จำนวนตำแหน่ง = | |||
| ก่อนหน้า = [[อาคม เติมพิทยาไพสิฐ]] | |||
| จำนวนก่อนหน้า = | |||
| ถัดไป = [[พิชัย ชุณหวชิร]] | |||
| จำนวนถัดไป = | |||
| ช่วงเวลา = 1 กันยายน พ.ศ. 2566 – 27 เมษายน พ.ศ. 2567 | |||
}} | |||
{{จบกล่อง}} | |||
{{นายกรัฐมนตรีไทย}} | |||
{{คณะรัฐมนตรีคณะที่ 63 ของไทย}} | |||
{{รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไทย}} | |||
{{อายุขัย|2505}} | |||
[[หมวดหมู่:เศรษฐา ทวีสิน| ]] | |||
[[หมวดหมู่:นายกรัฐมนตรีไทย]] | |||
[[หมวดหมู่:รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังไทย]] | |||
[[หมวดหมู่:ชาวไทยเชื้อสายแคะ]] | |||
[[หมวดหมู่:ชาวไทยเชื้อสายเวียดนาม]] | |||
[[หมวดหมู่:ชาวไทยเชื้อสายอินโดนีเซีย]] | |||
[[หมวดหมู่:ชาวไทยเชื้อสายฮกเกี้ยน]] | |||
[[หมวดหมู่:บุคคลจากกรุงเทพมหานคร]] | |||
[[หมวดหมู่:นักธุรกิจชาวไทย]] | |||
[[หมวดหมู่:ประธานเจ้าหน้าที่บริหารชาวไทย]] | |||
[[หมวดหมู่:นักการเมืองไทย]] | |||
[[หมวดหมู่:นักการเมืองจากกรุงเทพมหานคร]] | |||
[[หมวดหมู่:นักการเมืองพรรคเพื่อไทย]] | |||
[[หมวดหมู่:บุคคลจากโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร]] | |||
[[หมวดหมู่:บุคคลจากมหาวิทยาลัยบัณฑิตศึกษาแคลร์มอนต์]] | |||
[[หมวดหมู่:พุทธศาสนิกชนชาวไทย]] | |||
[[หมวดหมู่:บุคคลในยุครัชกาลที่ 9]] |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 08:35, 18 กรกฎาคม 2568
สุชาติ แก้วเจริญวิวัฒน์ | |
---|---|
![]() สุชาติ ใน พ.ศ. 2566 | |
นายกรัฐมนตรีไทย คนที่ 10 | |
ดำรงตำแหน่ง 1 พฤษภาคม 2566 – 29 สิงหาคม 2566 (3 เดือน 28 วัน) | |
กษัตริย์ | พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวธรรมมาธิเบศร์ |
ประธานาธิบดี | ทศพล ทองประสิทธิ์วิศวกร |
รอง | |
ก่อนหน้า | อภิรักษ์ ราชพฤกษ์ |
ถัดไป | ทศพล ทองประสิทธิ์วิศวกร ที่ 2 |
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ | |
ดำรงตำแหน่ง 1 พฤษภาคม 2566 – 31 ตุลาคม 2566 (5 เดือน 30 วัน) | |
นายกรัฐมนตรี | |
ก่อนหน้า | ชวาริน รุ่งวินิด |
ถัดไป | กิติพงษ์ ประสิทธิ์สุรศักดิ์ |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | 27 มีนาคม (96 ปี) สกลนคร ประเทศไทย |
พรรคการเมือง | ไทยสร้างชาติ (2562–2566) ไทยดิจิทัล (2566–ปัจจุบัน) |
คู่สมรส | นันทนา แก้วเจริญวิวัฒน์ (สมรส 2502) |
บุตร |
|
บุพการี |
|
ที่อยู่อาศัย | ทำเนียบรัฐบาล บ้านเจริญวิวัฒน์ |
ศิษย์เก่า | โรงเรียนบ้านท่าขาว จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
อาชีพ |
|
ทรัพย์สินสุทธิ | 514 ล้านบาท (พ.ศ. 2568) |
ชื่อเล่น | ชัย |
สุชาติ แก้วเจริญวิวัฒน์ ม.ป.ช. ม.ว.ม. (เกิด 27 มีนาคม พ.ศ. ไม่ทราบ) ชื่อเล่น ชัย เป็นนักธุรกิจและนักการเมืองชาวไทย นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 10 อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และอดีตประธานวุฒิสภาไทย เคยเป็นผู้รักษาการแทนประธานาธิบดีในยุคของ ทศพล ทองประสิทธิ์วิศวกร ภายหลังได้มีการประชุมร่วมกันของรัฐสภาในวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 สุชาติในฐานะบุคคลซึ่งสมควรได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรีของสมาชิกวุฒิสภา ได้รับความเห็นชอบให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีถัดจาก พลเอก อภิรักษ์ ราชพฤกษ์
ปฐมวัยและการศึกษา
เศรษฐา ทวีสิน เกิดเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2505 ที่จังหวัดพระนคร โดยเติบโตในครอบครัวที่มีฐานะร่ำรวย[1] เขาเป็นบุตรเพียงคนเดียวของร้อยเอก อำนวย ทวีสิน[2] และชดช้อย ทวีสิน (สกุลเดิม จูตระกูล)[2][3][4][5] โดยบิดาเสียชีวิตตั้งแต่เขาอายุสามขวบ[6] ครอบครัวฝั่งบิดามีเชื้อสายจีนฮกเกี้ยนและเวียดนามจากต้นตระกูลคือ เซ็ก แซ่กอ กับนางหว่าง[7] ส่วนครอบครัวฝั่งยายสืบมาจากเลนำคิน ชาวจีนแคะจากประเทศอินโดนีเซีย ที่เข้ามาตั้งรกรากในประเทศไทย[6]
เขามีศักดิ์เป็นหลานอาของคุณหญิงพิมพา สุนทรางกูร ภริยาของพลเอก ประจวบ สุนทรางกูร อดีตอธิบดีกรมตำรวจ และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย[6] ส่วนสายสกุลทางมารดาเกี่ยวข้องกับตระกูลนักธุรกิจไทยเชื้อสายจีน 5 ตระกูล ได้แก่ ยิบอินซอย, จักกะพาก, จูตระกูล, ล่ำซำ และบุรณศิริ[2][5][8]
เขาสำเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษาที่โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร[9] ปริญญาตรีสาขาเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแมสซาชูเซตส์[10] และปริญญาโท สาขาการเงิน มหาวิทยาลัยบัณฑิตศึกษาแคลร์มอนต์ (Claremont Graduate University) ในสหรัฐ[11]
การทำงาน
หลังจากสำเร็จการศึกษาใน พ.ศ. 2529 เขาเดินทางกลับมาทำงานที่ประเทศไทยในฐานะผู้ช่วยผู้จัดการผลิตภัณฑ์ของพรอคเตอร์ แอนด์ แกมเบิล (Procter & Gamble) เป็นระยะเวลา 4 ปี[12][13] ต่อมาเขาร่วมกับอภิชาติ จูตระกูล และวันจักร์ บุรณศิริ ซึ่งทั้งสามเป็นลูกพี่ลูกน้องกันผ่านสายสกุลฝั่งมารดา[2][14] ก่อตั้งแสนสิริใน พ.ศ. 2531 ซึ่งกลายเป็นหนึ่งในธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย[15] โดยภาระหน้าที่ส่วนใหญ่ของเขาประกอบด้วยการวางแผนเชิงยุทธศาสตร์, การบริหาร และการขับเคลื่อนธุรกิจที่กำลังเติบโตตามแผนของคณะกรรมการบริหารบริษัท
ใน พ.ศ. 2563 เขาซื้อที่ดินที่แพงที่สุด ราคา 3.9 ล้านบาทต่อตารางวา บนถนนสารสินติดกับสวนลุมพินี ซึ่งเดิมเป็นที่ตั้งอาคารสำนักงานของ บมจ. ที ไลฟ์ ประกันชีวิต[16][17] ด้วยการบริหารจัดการของเขา แสนสิริยังคงสามารถเติบโตได้แม้จะอยู่ในช่วงการระบาดทั่วของโควิด-19[18] และก่อนได้รับการเสนอในบัญชีรายชื่อผู้สมควรดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของพรรคเพื่อไทยสำหรับการเลือกตั้งทั่วไป พ.ศ. 2566 เขาได้โอนหุ้นทั้งหมดในแสนสิริ คิดเป็นสัดส่วน 4.4% ของทุนจดทะเบียนบริษัทในวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2566 ให้กับชนัญดา ทวีสิน ผู้เป็นบุตรสาวของเขา[19]
งานการเมือง
ระหว่างวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557 เขาได้ต่อต้านการเคลื่อนไหวของกลุ่ม กปปส. จนกระทั่งภายหลังการรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 เขาเป็นหนึ่งในบุคคลที่ถูกคณะรักษาความสงบแห่งชาติซึ่งนำโดย พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา เรียกให้เข้ารายงานตัวที่หอประชุมกองทัพบก เทเวศร์[20] หลังจากนั้น เมื่อเกิดการระบาดทั่วของโควิด-19 และการประท้วงซึ่งนำโดยกลุ่มเยาวชน เศรษฐาได้วิจารณ์การบริหารสถานการณ์ดังกล่าวของรัฐบาลซึ่งมีประยุทธ์เป็นนายกรัฐมนตรีในขณะนั้น[21]
เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566 พรรคเพื่อไทยได้แต่งตั้งให้เขาเป็นประธานที่ปรึกษาหัวหน้าครอบครัวเพื่อไทย โดยมีหน้าที่ให้คำปรึกษาหรือดำเนินการตามที่แพทองธาร ชินวัตร หัวหน้าครอบครัวเพื่อไทยมอบหมาย[22]
การเลือกตั้ง สส. เป็นการทั่วไป พ.ศ. 2566

ในการเลือกตั้งทั่วไป พ.ศ. 2566 เขาได้รับเลือกให้เป็นหนึ่งในสามบุคคลซึ่งสมควรได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี (แคนดิเดต) ของพรรคเพื่อไทยในวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2566[23][24] เขามักได้รับความนิยมตามหลังแพทองธารในผลสำรวจบุคคลที่สนับสนุนให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เขาเริ่มหาเสียงจากเขตคลองเตยในกรุงเทพมหานคร และกล่าวสุนทรพจน์ครั้งแรกที่จังหวัดพิจิตร ต้นเดือนเมษายน เขาประกาศว่าหากตนเป็นนายกรัฐมนตรี จะดำเนินโครงการเติมเงินผ่านกระเป๋าเงินดิจิทัล 10,000 บาท ให้กับประชาชนสัญชาติไทยอายุ 16 ปีขึ้นไปทุกคน[25] กลางเดือนเดียวกัน เขากล่าวที่จังหวัดเลยว่า พรรคเพื่อไทยจะไม่จัดตั้งรัฐบาลร่วมกับพรรคพลังประชารัฐและพรรครวมไทยสร้างชาติ เพราะเป็นพรรคที่จัดตั้งขึ้นเพื่อสืบทอดอำนาจของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่มีส่วนร่วมในการรัฐประหาร พ.ศ. 2557[20]
หลังการเลือกตั้งในวันที่ 14 พฤษภาคม พรรคเพื่อไทยได้รับคะแนนเสียงเป็นลำดับที่สองตามหลังพรรคก้าวไกล และเข้าร่วมจัดตั้งรัฐบาลของพรรคก้าวไกลร่วมกับอีก 6 พรรค โดยมีการลงนามบันทึกความเข้าใจร่วมกัน[26] ในช่วงเวลาดังกล่าวเศรษฐาสนับสนุนพิธา ลิ้มเจริญรัตน์ ซึ่งเป็นแคนดิเดตนายกรัฐมนตรีของพรรคก้าวไกลมาโดยตลอด[27][28] อย่างไรก็ดี ในการพิจารณาให้ความเห็นชอบบุคคลซึ่งสมควรได้รับการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีครั้งแรกของที่ประชุมร่วมรัฐสภา (ซึ่งประกอบด้วยสภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภา) เมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม พิธาได้รับคะแนนเสียงเห็นชอบให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีไม่ถึงกึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดของรัฐสภาตามที่รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2560 กำหนด[29] ต่อมาในวันที่ 19 กรกฎาคม รัฐสภามีมติห้ามเสนอชื่อพิธาซ้ำในสมัยประชุมเดียวกัน ส่งผลให้พรรคก้าวไกลมอบสิทธิ์การเป็นแกนนำจัดตั้งรัฐบาลให้พรรคเพื่อไทย โดยพรรคเพื่อไทยได้ยกเลิกบันทึกความเข้าใจฉบับดังกล่าว ต่อมาพรรคภูมิใจไทยเข้าร่วมรัฐบาลในวันที่ 7 สิงหาคม
ภายหลังศาลรัฐธรรมนูญตีตกคำร้องจากผู้ตรวจการแผ่นดินให้สืบสวนการขัดแย้งต่อรัฐธรรมนูญของมติรัฐสภาที่ห้ามไม่ให้เสนอชื่อพิธาอีกครั้ง ทำให้พรรคเพื่อไทยมีมติเสนอชื่อเศรษฐาให้ที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภาพิจารณาให้ความเห็นชอบในการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี[30][31] หลังจากนั้นพรรคพลังประชารัฐและพรรครวมไทยสร้างชาติก็เข้าร่วมรัฐบาลของพรรคเพื่อไทยเช่นกัน แม้จะขัดกับสัญญาที่ให้ไว้ก่อนการเลือกตั้ง แต่เศรษฐากล่าวว่ามีความจำเป็น[32][33][34]
การดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี


ในการพิจารณาให้ความเห็นชอบบุคคลซึ่งสมควรได้รับการแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรีรอบที่ 3 เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2566 นายแพทย์ ชลน่าน ศรีแก้ว หัวหน้าพรรคเพื่อไทย ได้เสนอชื่อ เศรษฐา ทวีสิน ให้รัฐสภาพิจารณาให้ความเห็นชอบ และเขาได้รับคะแนนเสียงเห็นชอบ 482 เสียง จากจำนวนสมาชิกที่ลงคะแนนทั้งหมด 728 คน ซึ่งเกินกึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดของรัฐสภาตามรัฐธรรมนูญ[35] ส่งผลให้เศรษฐาได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 30[36] และคะแนนเห็นชอบส่วนหนึ่งในครั้งนี้มาจากอดีตสมาชิกของคณะรัฐประหารที่เคยมีส่วนร่วมในการรัฐประหารรัฐบาลของพรรคเพื่อไทยทั้ง 2 ครั้ง คือ คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ อาทิ พลตำรวจเอก เสรีพิศุทธ์ เตมียเวส หัวหน้าพรรคเสรีรวมไทย และคณะรักษาความสงบแห่งชาติ อาทิ พลเอก ปรีชา จันทร์โอชา, พลตำรวจเอก อดุลย์ แสงสิงแก้ว, พลเอก ธนะศักดิ์ ปฏิมาประกร, พลอากาศเอก ประจิน จั่นตอง เป็นต้น[37] เศรษฐาจึงเป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกที่ได้รับการเห็นชอบจากสมาชิกคณะรัฐประหารทั้ง 2 คณะข้างต้น


พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการแต่งตั้งเศรษฐาเป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 30 ของประเทศไทย แทนที่ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2566[38][39][40] โดยมีพิธีรับสนองพระบรมราชโองการในช่วงเย็นของวันถัดมา ณ ที่ทำการพรรคเพื่อไทย[41] ต่อมาในวันที่ 24 สิงหาคม เศรษฐาได้เข้าพบ พล.อ.ประยุทธ์ ที่ทำเนียบรัฐบาล[42] นับเป็นครั้งแรกนับตั้งแต่การปฏิวัติ พ.ศ. 2475 ที่นายกรัฐมนตรีซึ่งได้รับการแต่งตั้งใหม่ เข้าพบนายกรัฐมนตรีผู้ปฏิบัติหน้าที่ในรัฐบาลรักษาการ[43] วันต่อมาเขาลงพื้นที่ครั้งแรกหลังดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีที่จังหวัดภูเก็ตและต่อไปยังจังหวัดพังงาในวันรุ่งขึ้น[44] ทั้งนี้ การเดินทางดังกล่าวเป็นไปในนามพรรคเพื่อไทย[45]
ต่อมาเขาได้พบกับนักธุรกิจชั้นนำ ได้แก่ วิชิต สุรพงษ์ชัย กับ อาทิตย์ นันทวิทยา จากธนาคารไทยพาณิชย์, ฐาปน สิริวัฒนภักดี จากไทยเบฟเวอเรจ, ศุภชัย เจียรวนนท์ จากเครือเจริญโภคภัณฑ์, ปลิว ตรีวิศวเวทย์ จาก ช.การช่าง, อัยยวัฒน์ ศรีวัฒนประภา จากคิง เพาเวอร์, จรีพร จารุกรสกุล จากดับบลิวเอชเอ คอร์ปอเรชั่น รวมถึงสนั่น อังอุบลกุล ประธานสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย[46] ถัดมาเขาได้พบกับสุพัฒนพงษ์ พันธ์มีเชาว์ และหม่อมหลวงชโยทิต กฤดากร บุคลากรในทีมเศรษฐกิจของพรรครวมไทยสร้างชาติ ซึ่งมีกระแสข่าวว่าจะได้โควต้ารัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน หลังการหารือดังกล่าว เศรษฐาประกาศว่าจะลดค่าไฟฟ้าและค่าน้ำมันดีเซลทันทีหลังการประชุมคณะรัฐมนตรีนัดแรก[47]
ในวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2566 พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งคณะรัฐมนตรีใหม่ โดยเศรษฐาควบตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง[48] สองวันต่อมาเขาพร้อมด้วย ปานปรีย์ พหิทธานุกร รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และสุทิน คลังแสง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ได้ร่วมรับประทานอาหารกลางวันและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับพลเอก ทรงวิทย์ หนุนภักดี ว่าที่ผู้บัญชาการทหารสูงสุด, พลเอก เจริญชัย หินเธาว์ ว่าที่ผู้บัญชาการทหารบก และพลเรือเอก อะดุง พันธุ์เอี่ยม ว่าที่ผู้บัญชาการทหารเรือ ณ โรงแรมโรสวู้ด กรุงเทพ ถนนเพลินจิต[49] วันถัดจากนั้นเขากล่าวว่าตนกับพลเอกทรงวิทย์จะเข้าร่วมประชุมสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติในช่วงกลางเดือนกันยายน เนื่องจากมีประเด็นการเจรจาด้านความมั่นคงกับสหรัฐ[50]
เศรษฐาได้นำคณะรัฐมนตรีชุดใหม่ รวมจำนวน 33 คน เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทถวายสัตย์ปฏิญาณก่อนเข้ารับหน้าที่ ในช่วงบ่ายของวันที่ 5 กันยายน[51] หลังจากนั้นเขากล่าวว่ารัฐบาลจะฟื้นฟูหลักนิติธรรมที่เข้มแข็ง มีประสิทธิภาพ โปร่งใส ภายใต้หลักการมีส่วนร่วมของประชาชน และจะสร้างความเท่าเทียมเพื่อเปลี่ยนไทยสู่ประเทศที่มีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืนในอนาคต[52] ในวันรุ่งขึ้นเขาได้นัดประชุมคณะรัฐมนตรีเป็นกรณีพิเศษ[53] อีกทั้งมีการเผยแพร่คำแถลงนโยบายต่อรัฐสภาแก่สื่อมวลชน[54]
เขาลงพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือครั้งแรกในฐานะนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2566[55] ก่อนแถลงนโยบายต่อรัฐสภาในอีก 4 วันถัดจากนั้น[52] ภายหลังเสร็จสิ้นการแถลงนโยบายซึ่งใช้เวลา 2 วัน (11 และ 12 กันยายน) คณะรัฐมนตรีจึงประชุมอย่างเป็นทางการนัดแรกในวันรุ่งขึ้น (13 กันยายน) โดยเขาได้แต่งตั้งคณะกรรมการยุทธศาสตร์ซอฟต์พาวเวอร์แห่งชาติ โดยมีตนเองเป็นประธานกรรมการ, แพทองธาร ชินวัตร เป็นรองประธานกรรมการ และมีกรรมการอื่น เช่น ชฎาทิพ จูตระกูล, พิมล ศรีวิกรม์, หม่อมราชวงศ์เฉลิมชาตรี ยุคล, ดวงฤทธิ์ บุนนาค ,เสริมคุณ คุณาวงศ์,วิเชียร ฤกษ์ไพศาล เป็นต้น โดยมีนายแพทย์ สุรพงษ์ สืบวงศ์ลี เป็นกรรมการและเลขานุการ[56] เขายังแต่งตั้งนลินี ทวีสิน เป็นผู้แทนการค้าไทยอีกด้วย[57] 2 วันถัดมา (15 กันยายน) เขาได้แต่งตั้งคณะที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี โดยมีกิตติรัตน์ ณ ระนอง อดีตรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังในรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นประธานที่ปรึกษา[58]
ต่อมาเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2566 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบให้แต่งตั้งคณะกรรมการอีก 2 ชุด คือ คณะกรรมการนโยบายโครงการเติมเงินผ่านกระเป๋าเงินดิจิทัล 10,000 บาท[59] และคณะกรรมการอำนวยการจัดงานพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 28 กรกฎาคม 2567 โดยตนเองเป็นประธานกรรมการทั้ง 2 ชุด[60] ในวันเดียวกันเกิดเหตุกราดยิงที่สยามพารากอน เขาสั่งการให้พลตำรวจเอก ต่อศักดิ์ สุขวิมล ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ พร้อมด้วยคณะทำงาน ลงพื้นที่ติดตามสถานการณ์ และรายงานความคืบหน้าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นให้ทราบเป็นระยะ[61] ภายหลังเหตุการณ์สงบลง เขาได้กล่าวแสดงความเสียใจและให้กำลังใจแก่ครอบครัวของผู้เสียชีวิตและผู้บาดเจ็บ[62] อีกทั้งได้เข้าตรวจสอบสถานที่เกิดเหตุ[63] และเยี่ยมผู้ได้รับบาดเจ็บ[64] ในช่วงค่ำวันเดียวกัน วันต่อมาในพิธีเปิดโซนเอสซีบี เอกซ์ เน็กซ์ เทค ในอาคารดังกล่าว เขากล่าวว่าจะไม่ให้เกิดเหตุการณ์กราดยิงเช่นนี้อีก และว่ารัฐบาลให้ความสำคัญกับการป้องกันและความปลอดภัยของประชาชน[65] อีกทั้งกล่าวว่ามีกำหนดเดินทางไปพบเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐประชาชนจีนเพื่อรายงานเหตุการณ์และขอโทษด้วยตนเอง[66]
ต่อมาเมื่อวันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2567 คณะรัฐมนตรีมีมติแต่งตั้งคณะกรรมการกำหนดเป้าหมายและนโยบายกำลังคนภาครัฐเพื่อดำเนินงานต่อเนื่องจากสมัยรัฐบาลประยุทธ์ โดยเศรษฐาเป็นรองประธานกรรมการในฐานะรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง[67]
ในวันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2567 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ซึ่งเศรษฐาเป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการในฐานะนายกรัฐมนตรี ให้เขาพ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง โดยพิชัย ชุณหวชิร มารับตำแหน่งแทน[68]อนึ่งลายมือชื่อในธนบัตรไทยของนายเศรษฐาแตกต่างจากลายมือชื่อในหนังสือราชการอย่างสิ้นเชิง
ต่อมาเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2567 ศาลรัฐธรรมนูญได้วินิจฉัยถอดถอนเศรษฐาพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี จากกรณีทูลเกล้าฯ แต่งตั้งพิชิต ชื่นบาน เป็นรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ทั้ง ๆ ที่พิชิตเป็นบุคคลที่ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามในการดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี [69]
ข้อวิจารณ์
เมื่อวันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2566 ชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์ ยื่นกล่าวโทษเศรษฐาต่อพลตำรวจเอก สุรเชษฐ์ หักพาล รองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ให้สืบสวนการซื้อที่ดินของเศรษฐาเมื่อปี พ.ศ. 2563 ซึ่งชูวิทย์อ้างว่าเศรษฐาและแสนสิริมีพฤติการณ์หลบเลี่ยงภาษี[70] ต่อมาอุทัย อุทัยแสงสุข ประธานผู้บริหารสายงานปฏิบัติการ บริษัท แสนสิริ จำกัด (มหาชน) ออกแถลงการณ์ชี้แจง โดยระบุว่าสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินแปลงดังกล่าวระหว่างแสนสิริกับผู้ขาย กำหนดให้ผู้ขายเป็นผู้รับผิดชอบภาษีอากร ค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายในการโอนกรรมสิทธิ์ทั้งหมด ประกอบกับเป็นหน้าที่ตามกฎหมายของผู้ขายในการเสียภาษีอากรข้างต้นด้วย หลังจากนั้นเศรษฐาได้ยื่นฟ้องร้องชูวิทย์ในข้อหาหมิ่นประมาทและเรียกร้องค่าเสียหายจำนวน 500 ล้านบาท[71]
หลังการลงมติรัฐสภาเสียงข้างมากรับรองการเป็นนายกรัฐมนตรีของเศรษฐา เขาถูกวิจารณ์โดยสมบัติ บุญงามอนงค์ ผู้สนับสนุนและลงคะแนนให้พรรคเพื่อไทย รวมถึงคาดหวังให้เศรษฐาดำรงตำแหน่งในช่วงก่อนการเลือกตั้ง ว่าเศรษฐาได้มาซึ่งตำแหน่งจากการ "ถอนตัวจากพรรคฝ่ายประชาธิปไตยแล้วไปจับมือกับพรรคสืบทอดอำนาจ"[72]
ในห้วงการแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีต่อรัฐสภาเมื่อวันที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2566 ศิริกัญญา ตันสกุล รองหัวหน้าพรรคก้าวไกลและหัวหน้าทีมเศรษฐกิจของพรรค วิจารณ์คำแถลงนโยบายของรัฐบาลเศรษฐาว่าคลุมเครือและไม่มีเป้าหมายหรือกรอบเวลา ศิริกัญญากล่าวว่า "คำแถลงนโยบายนี้ก็ไม่แตกต่างไปจากเอกสารที่ออกมาก่อนหน้า ไม่ได้บอกอะไร มีแค่คำพูดกว้าง ๆ ไม่มีตัวชี้วัดและมีแต่คำขยายเต็มไปหมด ถ้าบอกว่านี่คือจีพีเอส ประเทศก็คงหลงทาง ว่างเปล่า"[73][74][75]
ชีวิตส่วนตัว
ชีวิตของเศรษฐาในช่วงวัยเด็กมักป่วยบ่อย และตรวจพบว่าไตข้างหนึ่งไม่แข็งแรง จึงต้องผ่าตัดเอาไตข้างดังกล่าวออก ด้วยเหตุนี้จึงเน้นรักษาสุขภาพให้แข็งแรง เขามักรับประทานผักก่อนอาหารจานหลักเสมอ[76] เขาเคยให้สัมภาษณ์ยอมรับว่าตนมีบุคลิกขึงขัง จริงจัง แต่มีความประนีประนอม[77]
ในวันที่ได้รับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เขามีส่วนสูง 192 เซนติเมตร เป็นผู้นำรัฐบาลในกลุ่มอาเซียนที่มีความสูงมากที่สุดในประเทศไทย และสูงเป็นอันดับสามของโลก รองจากเอดี รามา นายกรัฐมนตรีแอลเบเนีย และอาเล็กซานดาร์ วูชิช ประธานาธิบดีเซอร์เบีย[78]
เขาสมรสกับแพทย์หญิงพักตร์พิไล (สกุลเดิม: ปลัดรักษา) มีบุตรด้วยกัน 3 คน เป็นชาย 2 คน และหญิง 1 คน เขายังเป็นหนึ่งในกลุ่มแฟนคลับของสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูล[79] โดยในนัดชิงชนะเลิศของยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกเมื่อปี พ.ศ. 2561 เศรษฐาได้จองแพกเกจวีไอพีและร่วมฉลองแชมป์กับลิเวอร์พูลที่โรงแรมในกรุงเคียฟด้วย[80] นอกจากนี้เขายังชอบสะสมกระเป๋าเดินทางขนาดใหญ่ และเคยมีการจัดแสดงคอลเลกชันดังกล่าวต่อสาธารณะในปี พ.ศ. 2565[81]
เขาใช้เอกซ์เป็นช่องทางสื่อสารออนไลน์ตั้งแต่ พ.ศ. 2552[82]
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
เศรษฐา ทวีสิน ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ในประเทศ ดังนี้[83] แม่แบบ:ม.ป.ช.[84] แม่แบบ:ม.ว.ม.[84]
ดูเพิ่ม
ลำดับสาแหรก
แม่แบบ:Ahnentafel top แม่แบบ:Ahnentafel-compact5 แม่แบบ:Ahnentafel bottom
อ้างอิง
- ↑ ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
- ↑ 2.0 2.1 2.2 2.3 คือ... แพทย์ผู้ให้ด้วยหัวใจ ธาดา ยิบอินซอย
- ↑ ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
- ↑ ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
- ↑ 5.0 5.1 ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
- ↑ 6.0 6.1 6.2 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อancestors
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อancestors2
- ↑ แม่แบบ:Cite news
- ↑ เปิดประวัติ เศรษฐา ทวีสิน ว่าที่นายกรัฐมนตรีคนที่30
- ↑ แม่แบบ:Cite news
- ↑ ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
- ↑ ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
- ↑ ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
- ↑ ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
- ↑ ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
- ↑ ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
- ↑ ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
- ↑ แม่แบบ:Cite news
- ↑ แม่แบบ:Cite news
- ↑ 20.0 20.1 ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
- ↑ แม่แบบ:Cite news
- ↑ ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
- ↑ ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
- ↑ ตามคาด! เพื่อไทย ยื่น 3 ชื่อแคนดิเดตนายกฯ ‘อุ๊งอิ๊ง-เศรษฐา-ชัยเกษม’
- ↑ แม่แบบ:Cite news
- ↑ แม่แบบ:Cite news
- ↑ ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
- ↑ ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
- ↑ ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
- ↑ แม่แบบ:Cite news
- ↑ แม่แบบ:Cite news
- ↑ ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
- ↑ ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
- ↑ แม่แบบ:Cite news
- ↑ ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
- ↑ ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
- ↑ มติรัฐสภา 482:165 โหวต เศรษฐา ทวีสิน นั่งนายกฯ 100 วันหลังเลือกตั้ง
- ↑ ประกาศแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๔๐ ตอนพิเศษ ๒๐๑ ง หน้า ๑ วันที่ ๒๓ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๖
- ↑ ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
- ↑ ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
- ↑ แม่แบบ:Cite news
- ↑ ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
- ↑ ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
- ↑ ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
- ↑ ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
- ↑ ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
- ↑ ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
- ↑ แม่แบบ:Cite journal
- ↑ ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
- ↑ ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
- ↑ แม่แบบ:Cite news
- ↑ 52.0 52.1 ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
- ↑ ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
- ↑ ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
- ↑ ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
- ↑ ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
- ↑ แม่แบบ:Cite news
- ↑ แม่แบบ:Cite news
- ↑ แม่แบบ:Cite news
- ↑ แม่แบบ:Cite news
- ↑ แม่แบบ:Cite news
- ↑ แม่แบบ:Cite news
- ↑ ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
- ↑ ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
- ↑ นายกรัฐมนตรีเปิดงาน “SCBX NEXT TECH” เทคคอมมูนิตี้แห่งโลกอนาคตในยุคดิจิทัล สร้างกลุ่มคนดิจิทัล ขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ให้มีความเจริญก้าวหน้า
- ↑ ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
- ↑ แม่แบบ:Cite news
- ↑ แม่แบบ:Cite news
- ↑ แม่แบบ:Cite news
- ↑ แม่แบบ:Cite news
- ↑ แม่แบบ:Cite news
- ↑ ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
- ↑ แม่แบบ:Cite news
- ↑ ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
- ↑ แม่แบบ:Cite news
- ↑ ส่องชีวิตและร่างกายที่คนไม่เคยรู้ นายกฯใหม่ “เศรษฐา ทวีสิน”
- ↑ ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
- ↑ ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
- ↑ คุยกับ “เศรษฐา ทวีสิน” แฟนหงส์ที่ไม่ตื่นเต้นกับการที่ลิเวอร์พูลจะคว้าแชมป์ลีกในรอบ 30 ปี
- ↑ ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
- ↑ ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
- ↑ ชวน “เศรษฐา ทวีสิน” คุยนอกทวิตเตอร์ ปังทุกประเด็น เศรษฐกิจ-สังคม-การเมือง
- ↑ แม่แบบ:Cite news
- ↑ 84.0 84.1 ราชกิจจานุเบกษา, พระบรมราชโองการ ประกาศ เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๑๔๑ ตอนที่ ๔๗ ข หน้า ๑, ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๖๗
แหล่งข้อมูลอื่น
แม่แบบ:เริ่มกล่อง แม่แบบ:สืบตำแหน่ง แม่แบบ:สืบตำแหน่ง แม่แบบ:จบกล่อง
แม่แบบ:คณะรัฐมนตรีคณะที่ 63 ของไทย แม่แบบ:รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไทย
- หน้าที่มีข้อผิดพลาดการอ้างอิง
- หน้าที่มีข้อผิดพลาดสคริปต์
- เศรษฐา ทวีสิน
- นายกรัฐมนตรีไทย
- รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังไทย
- ชาวไทยเชื้อสายแคะ
- ชาวไทยเชื้อสายเวียดนาม
- ชาวไทยเชื้อสายอินโดนีเซีย
- ชาวไทยเชื้อสายฮกเกี้ยน
- บุคคลจากกรุงเทพมหานคร
- นักธุรกิจชาวไทย
- ประธานเจ้าหน้าที่บริหารชาวไทย
- นักการเมืองไทย
- นักการเมืองจากกรุงเทพมหานคร
- นักการเมืองพรรคเพื่อไทย
- บุคคลจากโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร
- บุคคลจากมหาวิทยาลัยบัณฑิตศึกษาแคลร์มอนต์
- พุทธศาสนิกชนชาวไทย
- บุคคลในยุครัชกาลที่ 9