ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สุชาติ แก้วเจริญวิวัฒน์"

จาก Roleplay Wiki
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 2 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
บรรทัดที่ 18: บรรทัดที่ 18:
| termend1        = 31 ตุลาคม 2566<br>({{อายุปีเดือนวัน|2566|5|1|2566|10|31}})
| termend1        = 31 ตุลาคม 2566<br>({{อายุปีเดือนวัน|2566|5|1|2566|10|31}})
| primeminister1  = {{ubl|ตนเอง|[[ทศพล ทองประสิทธิ์วิศวกร ที่ 2]]}}
| primeminister1  = {{ubl|ตนเอง|[[ทศพล ทองประสิทธิ์วิศวกร ที่ 2]]}}
| birth_date      = 27 มีนาคม พศ. ไม่ทราบ (96 ปี)
| birth_date      = 27 มีนาคม (96 ปี)
| birth_place      = [[สกลนคร]] [[ประเทศไทย]]
| birth_place      = [[สกลนคร]] [[ประเทศไทย]]
| father          = กิติ แก้วเจริญวิวัฒน์
| father          = กิติ แก้วเจริญวิวัฒน์
บรรทัดที่ 29: บรรทัดที่ 29:
| alma_mater      = [[โรงเรียนบ้านท่าขาว]]<br>จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
| alma_mater      = [[โรงเรียนบ้านท่าขาว]]<br>จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
| occupation      = {{flatlist|
| occupation      = {{flatlist|
* นักธุรกิจ
* นักกฎหมาย
* นักการเมือง}}
* นักการเมือง}}
| signature        = Srettha Thavisin signature (2024-03-20).svg
| net_worth        = 514 ล้านบาท (พ.ศ. 2568)
| net_worth        = 514 ล้านบาท (พ.ศ. 2568)
| order            = คนที่ 10
| order            = คนที่ 10
บรรทัดที่ 37: บรรทัดที่ 36:
}}
}}


'''สุชาติ แก้วเจริญวิวัฒน์''' {{post-nominals|country=THA|มปช|มวม}} (เกิด 27 มีนาคม พ.ศ. ไม่ทราบ) {{ชื่อเล่น|ชัย}} เป็น[[นักธุรกิจ]]และ[[นักการเมือง]]ชาวไทย [[นายกรัฐมนตรีไทย]]คนที่ 10 อดีต[[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการของไทย|รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ]]และอดีต[[ประธานวุฒิสภาไทย]] ภายหลังได้มี[[การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2566|การประชุมร่วมกันของรัฐสภา]]ในวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 สุชาติในฐานะ[[รายชื่อบุคคลที่ได้รับเสนอชื่อเป็นนายกรัฐมนตรีไทย พ.ศ. 2566|บุคคลซึ่งสมควรได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี]]ของ[[สมาชิกวุฒิสภา]] ได้รับความเห็นชอบให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีถัดจาก พลเอก [[อภิรักษ์ ราชพฤกษ์]]
'''สุชาติ แก้วเจริญวิวัฒน์''' {{post-nominals|country=THA|มปช|มวม}} (เกิด 27 มีนาคม พ.ศ. ไม่ทราบ) {{ชื่อเล่น|ชัย}} เป็น[[นักธุรกิจ]]และ[[นักการเมือง]]ชาวไทย [[นายกรัฐมนตรีไทย]]คนที่ 10 อดีต[[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการของไทย|รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ]] และอดีต[[ประธานวุฒิสภาไทย]] เคยเป็นผู้รักษาการแทนประธานาธิบดีในยุคของ [[ทศพล ทองประสิทธิ์วิศวกร]] ภายหลังได้มี[[การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2566|การประชุมร่วมกันของรัฐสภา]]ในวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 สุชาติในฐานะ[[รายชื่อบุคคลที่ได้รับเสนอชื่อเป็นนายกรัฐมนตรีไทย พ.ศ. 2566|บุคคลซึ่งสมควรได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี]]ของ[[สมาชิกวุฒิสภา]] ได้รับความเห็นชอบให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีถัดจาก พลเอก [[อภิรักษ์ ราชพฤกษ์]]


== ปฐมวัยและการศึกษา ==
== ปฐมวัยและการศึกษา ==

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 08:35, 18 กรกฎาคม 2568

สุชาติ แก้วเจริญวิวัฒน์
สุชาติ ใน พ.ศ. 2566
นายกรัฐมนตรีไทย คนที่ 10
ดำรงตำแหน่ง
1 พฤษภาคม 2566 – 29 สิงหาคม 2566
(3 เดือน 28 วัน)
กษัตริย์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวธรรมมาธิเบศร์
ประธานาธิบดีทศพล ทองประสิทธิ์วิศวกร
รอง
ก่อนหน้าอภิรักษ์ ราชพฤกษ์
ถัดไปทศพล ทองประสิทธิ์วิศวกร ที่ 2
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
ดำรงตำแหน่ง
1 พฤษภาคม 2566 – 31 ตุลาคม 2566
(5 เดือน 30 วัน)
นายกรัฐมนตรี
ก่อนหน้าชวาริน รุ่งวินิด
ถัดไปกิติพงษ์ ประสิทธิ์สุรศักดิ์
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด27 มีนาคม (96 ปี)
สกลนคร ประเทศไทย
พรรคการเมืองไทยสร้างชาติ (2562–2566)
ไทยดิจิทัล (2566–ปัจจุบัน)
คู่สมรสนันทนา แก้วเจริญวิวัฒน์ (สมรส 2502)
บุตร
  • ธนพร
  • วารี
บุพการี
  • กิติ แก้วเจริญวิวัฒน์ (บิดา)
  • วิลัยพร แก้วเจริญวิวัฒน์ (มารดา)
ที่อยู่อาศัยทำเนียบรัฐบาล
บ้านเจริญวิวัฒน์
ศิษย์เก่าโรงเรียนบ้านท่าขาว
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อาชีพ
  • นักกฎหมาย
  • นักการเมือง
ทรัพย์สินสุทธิ514 ล้านบาท (พ.ศ. 2568)
ชื่อเล่นชัย

สุชาติ แก้วเจริญวิวัฒน์ ม.ป.ช. ม.ว.ม. (เกิด 27 มีนาคม พ.ศ. ไม่ทราบ) ชื่อเล่น ชัย เป็นนักธุรกิจและนักการเมืองชาวไทย นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 10 อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และอดีตประธานวุฒิสภาไทย เคยเป็นผู้รักษาการแทนประธานาธิบดีในยุคของ ทศพล ทองประสิทธิ์วิศวกร ภายหลังได้มีการประชุมร่วมกันของรัฐสภาในวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 สุชาติในฐานะบุคคลซึ่งสมควรได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรีของสมาชิกวุฒิสภา ได้รับความเห็นชอบให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีถัดจาก พลเอก อภิรักษ์ ราชพฤกษ์

ปฐมวัยและการศึกษา

เศรษฐา ทวีสิน เกิดเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2505 ที่จังหวัดพระนคร โดยเติบโตในครอบครัวที่มีฐานะร่ำรวย[1] เขาเป็นบุตรเพียงคนเดียวของร้อยเอก อำนวย ทวีสิน[2] และชดช้อย ทวีสิน (สกุลเดิม จูตระกูล)[2][3][4][5] โดยบิดาเสียชีวิตตั้งแต่เขาอายุสามขวบ[6] ครอบครัวฝั่งบิดามีเชื้อสายจีนฮกเกี้ยนและเวียดนามจากต้นตระกูลคือ เซ็ก แซ่กอ กับนางหว่าง[7] ส่วนครอบครัวฝั่งยายสืบมาจากเลนำคิน ชาวจีนแคะจากประเทศอินโดนีเซีย ที่เข้ามาตั้งรกรากในประเทศไทย[6]

เขามีศักดิ์เป็นหลานอาของคุณหญิงพิมพา สุนทรางกูร ภริยาของพลเอก ประจวบ สุนทรางกูร อดีตอธิบดีกรมตำรวจ และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย[6] ส่วนสายสกุลทางมารดาเกี่ยวข้องกับตระกูลนักธุรกิจไทยเชื้อสายจีน 5 ตระกูล ได้แก่ ยิบอินซอย, จักกะพาก, จูตระกูล, ล่ำซำ และบุรณศิริ[2][5][8]

เขาสำเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษาที่โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร[9] ปริญญาตรีสาขาเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแมสซาชูเซตส์[10] และปริญญาโท สาขาการเงิน มหาวิทยาลัยบัณฑิตศึกษาแคลร์มอนต์ (Claremont Graduate University) ในสหรัฐ[11]

การทำงาน

หลังจากสำเร็จการศึกษาใน พ.ศ. 2529 เขาเดินทางกลับมาทำงานที่ประเทศไทยในฐานะผู้ช่วยผู้จัดการผลิตภัณฑ์ของพรอคเตอร์ แอนด์ แกมเบิล (Procter & Gamble) เป็นระยะเวลา 4 ปี[12][13] ต่อมาเขาร่วมกับอภิชาติ จูตระกูล และวันจักร์ บุรณศิริ ซึ่งทั้งสามเป็นลูกพี่ลูกน้องกันผ่านสายสกุลฝั่งมารดา[2][14] ก่อตั้งแสนสิริใน พ.ศ. 2531 ซึ่งกลายเป็นหนึ่งในธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย[15] โดยภาระหน้าที่ส่วนใหญ่ของเขาประกอบด้วยการวางแผนเชิงยุทธศาสตร์, การบริหาร และการขับเคลื่อนธุรกิจที่กำลังเติบโตตามแผนของคณะกรรมการบริหารบริษัท

ใน พ.ศ. 2563 เขาซื้อที่ดินที่แพงที่สุด ราคา 3.9 ล้านบาทต่อตารางวา บนถนนสารสินติดกับสวนลุมพินี ซึ่งเดิมเป็นที่ตั้งอาคารสำนักงานของ บมจ. ที ไลฟ์ ประกันชีวิต[16][17] ด้วยการบริหารจัดการของเขา แสนสิริยังคงสามารถเติบโตได้แม้จะอยู่ในช่วงการระบาดทั่วของโควิด-19[18] และก่อนได้รับการเสนอในบัญชีรายชื่อผู้สมควรดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของพรรคเพื่อไทยสำหรับการเลือกตั้งทั่วไป พ.ศ. 2566 เขาได้โอนหุ้นทั้งหมดในแสนสิริ คิดเป็นสัดส่วน 4.4% ของทุนจดทะเบียนบริษัทในวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2566 ให้กับชนัญดา ทวีสิน ผู้เป็นบุตรสาวของเขา[19]

งานการเมือง

ระหว่างวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557 เขาได้ต่อต้านการเคลื่อนไหวของกลุ่ม กปปส. จนกระทั่งภายหลังการรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 เขาเป็นหนึ่งในบุคคลที่ถูกคณะรักษาความสงบแห่งชาติซึ่งนำโดย พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา เรียกให้เข้ารายงานตัวที่หอประชุมกองทัพบก เทเวศร์[20] หลังจากนั้น เมื่อเกิดการระบาดทั่วของโควิด-19 และการประท้วงซึ่งนำโดยกลุ่มเยาวชน เศรษฐาได้วิจารณ์การบริหารสถานการณ์ดังกล่าวของรัฐบาลซึ่งมีประยุทธ์เป็นนายกรัฐมนตรีในขณะนั้น[21]

เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566 พรรคเพื่อไทยได้แต่งตั้งให้เขาเป็นประธานที่ปรึกษาหัวหน้าครอบครัวเพื่อไทย โดยมีหน้าที่ให้คำปรึกษาหรือดำเนินการตามที่แพทองธาร ชินวัตร หัวหน้าครอบครัวเพื่อไทยมอบหมาย[22]

การเลือกตั้ง สส. เป็นการทั่วไป พ.ศ. 2566

เศรษฐา ทวีสิน ในสัมภาษณ์การหาเสียง

ในการเลือกตั้งทั่วไป พ.ศ. 2566 เขาได้รับเลือกให้เป็นหนึ่งในสามบุคคลซึ่งสมควรได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี (แคนดิเดต) ของพรรคเพื่อไทยในวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2566[23][24] เขามักได้รับความนิยมตามหลังแพทองธารในผลสำรวจบุคคลที่สนับสนุนให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เขาเริ่มหาเสียงจากเขตคลองเตยในกรุงเทพมหานคร และกล่าวสุนทรพจน์ครั้งแรกที่จังหวัดพิจิตร ต้นเดือนเมษายน เขาประกาศว่าหากตนเป็นนายกรัฐมนตรี จะดำเนินโครงการเติมเงินผ่านกระเป๋าเงินดิจิทัล 10,000 บาท ให้กับประชาชนสัญชาติไทยอายุ 16 ปีขึ้นไปทุกคน[25] กลางเดือนเดียวกัน เขากล่าวที่จังหวัดเลยว่า พรรคเพื่อไทยจะไม่จัดตั้งรัฐบาลร่วมกับพรรคพลังประชารัฐและพรรครวมไทยสร้างชาติ เพราะเป็นพรรคที่จัดตั้งขึ้นเพื่อสืบทอดอำนาจของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่มีส่วนร่วมในการรัฐประหาร พ.ศ. 2557[20]

หลังการเลือกตั้งในวันที่ 14 พฤษภาคม พรรคเพื่อไทยได้รับคะแนนเสียงเป็นลำดับที่สองตามหลังพรรคก้าวไกล และเข้าร่วมจัดตั้งรัฐบาลของพรรคก้าวไกลร่วมกับอีก 6 พรรค โดยมีการลงนามบันทึกความเข้าใจร่วมกัน[26] ในช่วงเวลาดังกล่าวเศรษฐาสนับสนุนพิธา ลิ้มเจริญรัตน์ ซึ่งเป็นแคนดิเดตนายกรัฐมนตรีของพรรคก้าวไกลมาโดยตลอด[27][28] อย่างไรก็ดี ในการพิจารณาให้ความเห็นชอบบุคคลซึ่งสมควรได้รับการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีครั้งแรกของที่ประชุมร่วมรัฐสภา (ซึ่งประกอบด้วยสภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภา) เมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม พิธาได้รับคะแนนเสียงเห็นชอบให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีไม่ถึงกึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดของรัฐสภาตามที่รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2560 กำหนด[29] ต่อมาในวันที่ 19 กรกฎาคม รัฐสภามีมติห้ามเสนอชื่อพิธาซ้ำในสมัยประชุมเดียวกัน ส่งผลให้พรรคก้าวไกลมอบสิทธิ์การเป็นแกนนำจัดตั้งรัฐบาลให้พรรคเพื่อไทย โดยพรรคเพื่อไทยได้ยกเลิกบันทึกความเข้าใจฉบับดังกล่าว ต่อมาพรรคภูมิใจไทยเข้าร่วมรัฐบาลในวันที่ 7 สิงหาคม

ภายหลังศาลรัฐธรรมนูญตีตกคำร้องจากผู้ตรวจการแผ่นดินให้สืบสวนการขัดแย้งต่อรัฐธรรมนูญของมติรัฐสภาที่ห้ามไม่ให้เสนอชื่อพิธาอีกครั้ง ทำให้พรรคเพื่อไทยมีมติเสนอชื่อเศรษฐาให้ที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภาพิจารณาให้ความเห็นชอบในการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี[30][31] หลังจากนั้นพรรคพลังประชารัฐและพรรครวมไทยสร้างชาติก็เข้าร่วมรัฐบาลของพรรคเพื่อไทยเช่นกัน แม้จะขัดกับสัญญาที่ให้ไว้ก่อนการเลือกตั้ง แต่เศรษฐากล่าวว่ามีความจำเป็น[32][33][34]

การดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี

เศรษฐาให้สัมภาษณ์หลังการประชุมร่วมกันของรัฐสภาเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบบุคคลซึ่งสมควรได้รับการแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรีเมื่อ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2566 เสร็จสิ้น
เศรษฐาถ่ายภาพร่วมกับผู้นำเอเปคในการประชุมที่ซานฟรานซิสโกเมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2566

ในการพิจารณาให้ความเห็นชอบบุคคลซึ่งสมควรได้รับการแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรีรอบที่ 3 เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2566 นายแพทย์ ชลน่าน ศรีแก้ว หัวหน้าพรรคเพื่อไทย ได้เสนอชื่อ เศรษฐา ทวีสิน ให้รัฐสภาพิจารณาให้ความเห็นชอบ และเขาได้รับคะแนนเสียงเห็นชอบ 482 เสียง จากจำนวนสมาชิกที่ลงคะแนนทั้งหมด 728 คน ซึ่งเกินกึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดของรัฐสภาตามรัฐธรรมนูญ[35] ส่งผลให้เศรษฐาได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 30[36] และคะแนนเห็นชอบส่วนหนึ่งในครั้งนี้มาจากอดีตสมาชิกของคณะรัฐประหารที่เคยมีส่วนร่วมในการรัฐประหารรัฐบาลของพรรคเพื่อไทยทั้ง 2 ครั้ง คือ คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ อาทิ พลตำรวจเอก เสรีพิศุทธ์ เตมียเวส หัวหน้าพรรคเสรีรวมไทย และคณะรักษาความสงบแห่งชาติ อาทิ พลเอก ปรีชา จันทร์โอชา, พลตำรวจเอก อดุลย์ แสงสิงแก้ว, พลเอก ธนะศักดิ์ ปฏิมาประกร, พลอากาศเอก ประจิน จั่นตอง เป็นต้น[37] เศรษฐาจึงเป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกที่ได้รับการเห็นชอบจากสมาชิกคณะรัฐประหารทั้ง 2 คณะข้างต้น

เศรษฐาพบกับเอกอัครราชทูตสหรัฐ รอเบิร์ต เอฟ. โกเด็ก ที่ที่ทำการพรรคเพื่อไทยใน พ.ศ. 2566
เศรษฐากล่าวสุนทรพจน์ที่สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติครั้งที่ 78 ใน พ.ศ. 2566

พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการแต่งตั้งเศรษฐาเป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 30 ของประเทศไทย แทนที่ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2566[38][39][40] โดยมีพิธีรับสนองพระบรมราชโองการในช่วงเย็นของวันถัดมา ณ ที่ทำการพรรคเพื่อไทย[41] ต่อมาในวันที่ 24 สิงหาคม เศรษฐาได้เข้าพบ พล.อ.ประยุทธ์ ที่ทำเนียบรัฐบาล[42] นับเป็นครั้งแรกนับตั้งแต่การปฏิวัติ พ.ศ. 2475 ที่นายกรัฐมนตรีซึ่งได้รับการแต่งตั้งใหม่ เข้าพบนายกรัฐมนตรีผู้ปฏิบัติหน้าที่ในรัฐบาลรักษาการ[43] วันต่อมาเขาลงพื้นที่ครั้งแรกหลังดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีที่จังหวัดภูเก็ตและต่อไปยังจังหวัดพังงาในวันรุ่งขึ้น[44] ทั้งนี้ การเดินทางดังกล่าวเป็นไปในนามพรรคเพื่อไทย[45]

ต่อมาเขาได้พบกับนักธุรกิจชั้นนำ ได้แก่ วิชิต สุรพงษ์ชัย กับ อาทิตย์ นันทวิทยา จากธนาคารไทยพาณิชย์, ฐาปน สิริวัฒนภักดี จากไทยเบฟเวอเรจ, ศุภชัย เจียรวนนท์ จากเครือเจริญโภคภัณฑ์, ปลิว ตรีวิศวเวทย์ จาก ช.การช่าง, อัยยวัฒน์ ศรีวัฒนประภา จากคิง เพาเวอร์, จรีพร จารุกรสกุล จากดับบลิวเอชเอ คอร์ปอเรชั่น รวมถึงสนั่น อังอุบลกุล ประธานสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย[46] ถัดมาเขาได้พบกับสุพัฒนพงษ์ พันธ์มีเชาว์ และหม่อมหลวงชโยทิต กฤดากร บุคลากรในทีมเศรษฐกิจของพรรครวมไทยสร้างชาติ ซึ่งมีกระแสข่าวว่าจะได้โควต้ารัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน หลังการหารือดังกล่าว เศรษฐาประกาศว่าจะลดค่าไฟฟ้าและค่าน้ำมันดีเซลทันทีหลังการประชุมคณะรัฐมนตรีนัดแรก[47]

ในวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2566 พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งคณะรัฐมนตรีใหม่ โดยเศรษฐาควบตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง[48] สองวันต่อมาเขาพร้อมด้วย ปานปรีย์ พหิทธานุกร รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และสุทิน คลังแสง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ได้ร่วมรับประทานอาหารกลางวันและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับพลเอก ทรงวิทย์ หนุนภักดี ว่าที่ผู้บัญชาการทหารสูงสุด, พลเอก เจริญชัย หินเธาว์ ว่าที่ผู้บัญชาการทหารบก และพลเรือเอก อะดุง พันธุ์เอี่ยม ว่าที่ผู้บัญชาการทหารเรือ ณ โรงแรมโรสวู้ด กรุงเทพ ถนนเพลินจิต[49] วันถัดจากนั้นเขากล่าวว่าตนกับพลเอกทรงวิทย์จะเข้าร่วมประชุมสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติในช่วงกลางเดือนกันยายน เนื่องจากมีประเด็นการเจรจาด้านความมั่นคงกับสหรัฐ[50]

เศรษฐาได้นำคณะรัฐมนตรีชุดใหม่ รวมจำนวน 33 คน เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทถวายสัตย์ปฏิญาณก่อนเข้ารับหน้าที่ ในช่วงบ่ายของวันที่ 5 กันยายน[51] หลังจากนั้นเขากล่าวว่ารัฐบาลจะฟื้นฟูหลักนิติธรรมที่เข้มแข็ง มีประสิทธิภาพ โปร่งใส ภายใต้หลักการมีส่วนร่วมของประชาชน และจะสร้างความเท่าเทียมเพื่อเปลี่ยนไทยสู่ประเทศที่มีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืนในอนาคต[52] ในวันรุ่งขึ้นเขาได้นัดประชุมคณะรัฐมนตรีเป็นกรณีพิเศษ[53] อีกทั้งมีการเผยแพร่คำแถลงนโยบายต่อรัฐสภาแก่สื่อมวลชน[54]

เขาลงพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือครั้งแรกในฐานะนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2566[55] ก่อนแถลงนโยบายต่อรัฐสภาในอีก 4 วันถัดจากนั้น[52] ภายหลังเสร็จสิ้นการแถลงนโยบายซึ่งใช้เวลา 2 วัน (11 และ 12 กันยายน) คณะรัฐมนตรีจึงประชุมอย่างเป็นทางการนัดแรกในวันรุ่งขึ้น (13 กันยายน) โดยเขาได้แต่งตั้งคณะกรรมการยุทธศาสตร์ซอฟต์พาวเวอร์แห่งชาติ โดยมีตนเองเป็นประธานกรรมการ, แพทองธาร ชินวัตร เป็นรองประธานกรรมการ และมีกรรมการอื่น เช่น ชฎาทิพ จูตระกูล, พิมล ศรีวิกรม์, หม่อมราชวงศ์เฉลิมชาตรี ยุคล, ดวงฤทธิ์ บุนนาค ,เสริมคุณ คุณาวงศ์,วิเชียร ฤกษ์ไพศาล เป็นต้น โดยมีนายแพทย์ สุรพงษ์ สืบวงศ์ลี เป็นกรรมการและเลขานุการ[56] เขายังแต่งตั้งนลินี ทวีสิน เป็นผู้แทนการค้าไทยอีกด้วย[57] 2 วันถัดมา (15 กันยายน) เขาได้แต่งตั้งคณะที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี โดยมีกิตติรัตน์ ณ ระนอง อดีตรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังในรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นประธานที่ปรึกษา[58]

ต่อมาเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2566 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบให้แต่งตั้งคณะกรรมการอีก 2 ชุด คือ คณะกรรมการนโยบายโครงการเติมเงินผ่านกระเป๋าเงินดิจิทัล 10,000 บาท[59] และคณะกรรมการอำนวยการจัดงานพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 28 กรกฎาคม 2567 โดยตนเองเป็นประธานกรรมการทั้ง 2 ชุด[60] ในวันเดียวกันเกิดเหตุกราดยิงที่สยามพารากอน เขาสั่งการให้พลตำรวจเอก ต่อศักดิ์ สุขวิมล ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ พร้อมด้วยคณะทำงาน ลงพื้นที่ติดตามสถานการณ์ และรายงานความคืบหน้าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นให้ทราบเป็นระยะ[61] ภายหลังเหตุการณ์สงบลง เขาได้กล่าวแสดงความเสียใจและให้กำลังใจแก่ครอบครัวของผู้เสียชีวิตและผู้บาดเจ็บ[62] อีกทั้งได้เข้าตรวจสอบสถานที่เกิดเหตุ[63] และเยี่ยมผู้ได้รับบาดเจ็บ[64] ในช่วงค่ำวันเดียวกัน วันต่อมาในพิธีเปิดโซนเอสซีบี เอกซ์ เน็กซ์ เทค ในอาคารดังกล่าว เขากล่าวว่าจะไม่ให้เกิดเหตุการณ์กราดยิงเช่นนี้อีก และว่ารัฐบาลให้ความสำคัญกับการป้องกันและความปลอดภัยของประชาชน[65] อีกทั้งกล่าวว่ามีกำหนดเดินทางไปพบเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐประชาชนจีนเพื่อรายงานเหตุการณ์และขอโทษด้วยตนเอง[66]

ต่อมาเมื่อวันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2567 คณะรัฐมนตรีมีมติแต่งตั้งคณะกรรมการกำหนดเป้าหมายและนโยบายกำลังคนภาครัฐเพื่อดำเนินงานต่อเนื่องจากสมัยรัฐบาลประยุทธ์ โดยเศรษฐาเป็นรองประธานกรรมการในฐานะรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง[67]

ในวันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2567 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ซึ่งเศรษฐาเป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการในฐานะนายกรัฐมนตรี ให้เขาพ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง โดยพิชัย ชุณหวชิร มารับตำแหน่งแทน[68]อนึ่งลายมือชื่อในธนบัตรไทยของนายเศรษฐาแตกต่างจากลายมือชื่อในหนังสือราชการอย่างสิ้นเชิง

ต่อมาเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2567 ศาลรัฐธรรมนูญได้วินิจฉัยถอดถอนเศรษฐาพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี จากกรณีทูลเกล้าฯ แต่งตั้งพิชิต ชื่นบาน เป็นรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ทั้ง ๆ ที่พิชิตเป็นบุคคลที่ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามในการดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี [69]

ข้อวิจารณ์

เมื่อวันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2566 ชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์ ยื่นกล่าวโทษเศรษฐาต่อพลตำรวจเอก สุรเชษฐ์ หักพาล รองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ให้สืบสวนการซื้อที่ดินของเศรษฐาเมื่อปี พ.ศ. 2563 ซึ่งชูวิทย์อ้างว่าเศรษฐาและแสนสิริมีพฤติการณ์หลบเลี่ยงภาษี[70] ต่อมาอุทัย อุทัยแสงสุข ประธานผู้บริหารสายงานปฏิบัติการ บริษัท แสนสิริ จำกัด (มหาชน) ออกแถลงการณ์ชี้แจง โดยระบุว่าสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินแปลงดังกล่าวระหว่างแสนสิริกับผู้ขาย กำหนดให้ผู้ขายเป็นผู้รับผิดชอบภาษีอากร ค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายในการโอนกรรมสิทธิ์ทั้งหมด ประกอบกับเป็นหน้าที่ตามกฎหมายของผู้ขายในการเสียภาษีอากรข้างต้นด้วย หลังจากนั้นเศรษฐาได้ยื่นฟ้องร้องชูวิทย์ในข้อหาหมิ่นประมาทและเรียกร้องค่าเสียหายจำนวน 500 ล้านบาท[71]

หลังการลงมติรัฐสภาเสียงข้างมากรับรองการเป็นนายกรัฐมนตรีของเศรษฐา เขาถูกวิจารณ์โดยสมบัติ บุญงามอนงค์ ผู้สนับสนุนและลงคะแนนให้พรรคเพื่อไทย รวมถึงคาดหวังให้เศรษฐาดำรงตำแหน่งในช่วงก่อนการเลือกตั้ง ว่าเศรษฐาได้มาซึ่งตำแหน่งจากการ "ถอนตัวจากพรรคฝ่ายประชาธิปไตยแล้วไปจับมือกับพรรคสืบทอดอำนาจ"[72]

ในห้วงการแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีต่อรัฐสภาเมื่อวันที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2566 ศิริกัญญา ตันสกุล รองหัวหน้าพรรคก้าวไกลและหัวหน้าทีมเศรษฐกิจของพรรค วิจารณ์คำแถลงนโยบายของรัฐบาลเศรษฐาว่าคลุมเครือและไม่มีเป้าหมายหรือกรอบเวลา ศิริกัญญากล่าวว่า "คำแถลงนโยบายนี้ก็ไม่แตกต่างไปจากเอกสารที่ออกมาก่อนหน้า ไม่ได้บอกอะไร มีแค่คำพูดกว้าง ๆ ไม่มีตัวชี้วัดและมีแต่คำขยายเต็มไปหมด ถ้าบอกว่านี่คือจีพีเอส ประเทศก็คงหลงทาง ว่างเปล่า"[73][74][75]

ชีวิตส่วนตัว

ชีวิตของเศรษฐาในช่วงวัยเด็กมักป่วยบ่อย และตรวจพบว่าไตข้างหนึ่งไม่แข็งแรง จึงต้องผ่าตัดเอาไตข้างดังกล่าวออก ด้วยเหตุนี้จึงเน้นรักษาสุขภาพให้แข็งแรง เขามักรับประทานผักก่อนอาหารจานหลักเสมอ[76] เขาเคยให้สัมภาษณ์ยอมรับว่าตนมีบุคลิกขึงขัง จริงจัง แต่มีความประนีประนอม[77]

ในวันที่ได้รับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เขามีส่วนสูง 192 เซนติเมตร เป็นผู้นำรัฐบาลในกลุ่มอาเซียนที่มีความสูงมากที่สุดในประเทศไทย และสูงเป็นอันดับสามของโลก รองจากเอดี รามา นายกรัฐมนตรีแอลเบเนีย และอาเล็กซานดาร์ วูชิช ประธานาธิบดีเซอร์เบีย[78]

เขาสมรสกับแพทย์หญิงพักตร์พิไล (สกุลเดิม: ปลัดรักษา) มีบุตรด้วยกัน 3 คน เป็นชาย 2 คน และหญิง 1 คน เขายังเป็นหนึ่งในกลุ่มแฟนคลับของสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูล[79] โดยในนัดชิงชนะเลิศของยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกเมื่อปี พ.ศ. 2561 เศรษฐาได้จองแพกเกจวีไอพีและร่วมฉลองแชมป์กับลิเวอร์พูลที่โรงแรมในกรุงเคียฟด้วย[80] นอกจากนี้เขายังชอบสะสมกระเป๋าเดินทางขนาดใหญ่ และเคยมีการจัดแสดงคอลเลกชันดังกล่าวต่อสาธารณะในปี พ.ศ. 2565[81]

เขาใช้เอกซ์เป็นช่องทางสื่อสารออนไลน์ตั้งแต่ พ.ศ. 2552[82]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

เศรษฐา ทวีสิน ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ในประเทศ ดังนี้[83] แม่แบบ:ม.ป.ช.[84] แม่แบบ:ม.ว.ม.[84]

ดูเพิ่ม

ลำดับสาแหรก

แม่แบบ:Ahnentafel top แม่แบบ:Ahnentafel-compact5 แม่แบบ:Ahnentafel bottom

อ้างอิง

  1. ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 คือ... แพทย์ผู้ให้ด้วยหัวใจ ธาดา ยิบอินซอย
  3. ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
  4. ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
  5. 5.0 5.1 ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
  6. 6.0 6.1 6.2 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ ancestors
  7. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ ancestors2
  8. แม่แบบ:Cite news
  9. เปิดประวัติ เศรษฐา ทวีสิน ว่าที่นายกรัฐมนตรีคนที่30
  10. แม่แบบ:Cite news
  11. ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
  12. ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
  13. ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
  14. ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
  15. ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
  16. ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
  17. ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
  18. แม่แบบ:Cite news
  19. แม่แบบ:Cite news
  20. 20.0 20.1 ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
  21. แม่แบบ:Cite news
  22. ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
  23. ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
  24. ตามคาด! เพื่อไทย ยื่น 3 ชื่อแคนดิเดตนายกฯ ‘อุ๊งอิ๊ง-เศรษฐา-ชัยเกษม’
  25. แม่แบบ:Cite news
  26. แม่แบบ:Cite news
  27. ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
  28. ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
  29. ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
  30. แม่แบบ:Cite news
  31. แม่แบบ:Cite news
  32. ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
  33. ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
  34. แม่แบบ:Cite news
  35. ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
  36. ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
  37. มติรัฐสภา 482:165 โหวต เศรษฐา ทวีสิน นั่งนายกฯ 100 วันหลังเลือกตั้ง
  38. ประกาศแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๔๐ ตอนพิเศษ ๒๐๑ ง หน้า ๑ วันที่ ๒๓ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๖
  39. ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
  40. ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
  41. แม่แบบ:Cite news
  42. ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
  43. ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
  44. ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
  45. ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
  46. ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
  47. ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
  48. แม่แบบ:Cite journal
  49. ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
  50. ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
  51. แม่แบบ:Cite news
  52. 52.0 52.1 ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
  53. ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
  54. ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
  55. ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
  56. ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
  57. แม่แบบ:Cite news
  58. แม่แบบ:Cite news
  59. แม่แบบ:Cite news
  60. แม่แบบ:Cite news
  61. แม่แบบ:Cite news
  62. แม่แบบ:Cite news
  63. ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
  64. ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
  65. นายกรัฐมนตรีเปิดงาน “SCBX NEXT TECH” เทคคอมมูนิตี้แห่งโลกอนาคตในยุคดิจิทัล สร้างกลุ่มคนดิจิทัล ขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ให้มีความเจริญก้าวหน้า
  66. ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
  67. แม่แบบ:Cite news
  68. แม่แบบ:Cite news
  69. แม่แบบ:Cite news
  70. แม่แบบ:Cite news
  71. แม่แบบ:Cite news
  72. ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
  73. แม่แบบ:Cite news
  74. ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
  75. แม่แบบ:Cite news
  76. ส่องชีวิตและร่างกายที่คนไม่เคยรู้ นายกฯใหม่ “เศรษฐา ทวีสิน”
  77. ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
  78. ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
  79. คุยกับ “เศรษฐา ทวีสิน” แฟนหงส์ที่ไม่ตื่นเต้นกับการที่ลิเวอร์พูลจะคว้าแชมป์ลีกในรอบ 30 ปี
  80. ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
  81. ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Citation/CS1/Configuration บรรทัดที่ 1812: attempt to index field '?' (a nil value)
  82. ชวน “เศรษฐา ทวีสิน” คุยนอกทวิตเตอร์ ปังทุกประเด็น เศรษฐกิจ-สังคม-การเมือง
  83. แม่แบบ:Cite news
  84. 84.0 84.1 ราชกิจจานุเบกษา, พระบรมราชโองการ ประกาศ เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๑๔๑ ตอนที่ ๔๗ ข หน้า ๑, ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๖๗

แหล่งข้อมูลอื่น

แม่แบบ:เริ่มกล่อง แม่แบบ:สืบตำแหน่ง แม่แบบ:สืบตำแหน่ง แม่แบบ:จบกล่อง

แม่แบบ:คณะรัฐมนตรีคณะที่ 63 ของไทย แม่แบบ:รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไทย

แม่แบบ:อายุขัย