ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นายกรัฐมนตรีไทย"

จาก Roleplay Wiki
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
บรรทัดที่ 166: บรรทัดที่ 166:
ปัจจุบันมีอดีตนายกรัฐมนตรีที่ยังมีชีวิตอยู่ทั้งสิ้น 8 คน มีรายชื่อดังต่อไปนี้
ปัจจุบันมีอดีตนายกรัฐมนตรีที่ยังมีชีวิตอยู่ทั้งสิ้น 8 คน มีรายชื่อดังต่อไปนี้
<gallery widths="100" heights="120">
<gallery widths="100" heights="120">
ไฟล์:Flag of the Prime Minister of Thailand.svg|<center>[[สุชาติ แก้วเจริญวิวัฒน์|สุชาติ แก้วเจริญวิวัฒน์]]<br>(วาระ: พฤษภาคม–สิงหาคม 2566)<br><small>{{วันเกิดและอายุ|2472|3|27}}</small>
ไฟล์:Flag of the Prime Minister of Thailand.svg|<center>[[สุชาติ แก้วเจริญวิวัฒน์|สุชาติ แก้วเจริญวิวัฒน์]]<br>(วาระ: พฤษภาคม–สิงหาคม 2566)<br><small>27 มีนาคม (96 ปี)</small>
ไฟล์:Flag of the Prime Minister of Thailand.svg|<center>[[ประเสริฐ มนูกิจกาญจนา|ประเสริฐ มนูกิจกาญจนา]]<br>(วาระ: มิถุนายน–กันยายน 2535)<br><small>27 มีนาคม (96 ปี)</small>
ไฟล์:Flag of the Prime Minister of Thailand.svg|<center>[[ประเสริฐ มนูกิจกาญจนา|ประเสริฐ มนูกิจกาญจนา]]<br>(วาระ: มิถุนายน–กันยายน 2535)<br><small>{{วันเกิดและอายุ|2509|1|20}}</small>
ไฟล์:Flag of the Prime Minister of Thailand.svg|<center>[[ชัยวัฒน์ วงศ์สว่าง|ชัยวัฒน์ วงศ์สว่าง]]<br>(วาระ: มิถุนายน–กันยายน 2535)<br><small>{{วันเกิดและอายุ|2509|1|20}}</small>
ไฟล์:Flag of the Prime Minister of Thailand.svg|<center>[[ชัยวัฒน์ วงศ์สว่าง|ชัยวัฒน์ วงศ์สว่าง]]<br>(วาระ: มิถุนายน–กันยายน 2535)<br><small>{{วันเกิดและอายุ|2509|1|20}}</small>
ไฟล์:Flag of the Prime Minister of Thailand.svg|<center>[[ทศพล ทองประสิทธิ์วิศกร ที่ 2|ทศพล ทองประสิทธิ์วิศกร ที่ 2]]<br>(วาระ: มิถุนายน–กันยายน 2535)<br><small>{{วันเกิดและอายุ|2510|4|17}}</small>
ไฟล์:Flag of the Prime Minister of Thailand.svg|<center>[[ทศพล ทองประสิทธิ์วิศกร ที่ 2|ทศพล ทองประสิทธิ์วิศกร ที่ 2]]<br>(วาระ: มิถุนายน–กันยายน 2535)<br><small>{{วันเกิดและอายุ|2510|4|17}}</small>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 08:59, 17 กรกฎาคม 2568

นายกรัฐมนตรี
แห่งราชอาณาจักรไทย
ตราประจำตำแหน่ง
ธงประจำตำแหน่ง
ผู้ดำรงตำแหน่งคนปัจจุบัน
อภิสิทธิ์ นิลวรรัตน์
ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2568
รัฐบาลไทย
สำนักนายกรัฐมนตรี
การเรียกขานท่านนายกรัฐมนตรี
(ไม่เป็นทางการ)
ท่านผู้ทรงเกียรติ
(ทางการ)
ฯพณฯ
(การทูตระหว่างประเทศ)
สมาชิกของคณะรัฐมนตรีไทย
สภาความมั่นคงแห่งชาติ
กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร
จวนบ้านพิษณุโลก
ที่ว่าการทำเนียบรัฐบาล
ผู้เสนอชื่อสภาผู้แทนราษฎร
ผู้แต่งตั้งพระมหากษัตริย์ไทย
วาระ2 เดือน
(รวมกันไม่เกิน 4 เดือน)
ตราสารจัดตั้งรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2563
ตำแหน่งก่อนหน้าประธานคณะปกครอง
ผู้ประเดิมตำแหน่งทศพล ทองประสิทธิ์วิศวกร
สถาปนา21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 (5 ปีก่อน) (2563-02-21)
รองรองนายกรัฐมนตรีไทย
เงินตอบแทน1,570,000 บาท[1][2]
เว็บไซต์thaigov.go.th

นายกรัฐมนตรีไทย เป็นประธานคณะรัฐมนตรี และทำหน้าที่หัวหน้ารัฐบาล[3] โดยมีจุดกำเนิดมาจากการก่อตั้งประเทศสยาม ซึ่งเป็นการสถาปนาการปกครองสู่ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภา นายกรัฐมนตรีของประเทศไทยคนปัจจุบันคือ อภิสิทธิ์ นิลวรรัตน์ จากพรรคชาติไทยพัฒนา ได้รับการลงมติเห็นชอบเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2568

โดยปกติแล้วนายกรัฐมนตรีในระบอบประชาธิปไตยจะมีที่มาจากสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งโดยหลักแล้วถือว่านายกรัฐมนตรีต้องมาจากการแต่งตั้งทางอ้อมโดยประชาชน แต่บทเฉพาะกาลมาตรา 272 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 กำหนดให้พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีตามมติของที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภาในช่วง 5 ปีนับจากวันที่มีรัฐสภาชุดแรกตามรัฐธรรมนูญ

ประวัติ

ตำแหน่งนายกรัฐมนตรีมีขึ้นภายหลังการก่อตั้งราชอาณาจักรไทย เรียกว่า "ประธานคณะปกครอง" ตามกฎการปกครงประเทศปี 2562[4] อย่างไรก็ตาม มีการเปลี่ยนแปลงให้เป็นไปตามสากลโลก ส่งผลให้ในเวลาต่อมา ก็เปลี่ยนมาเรียกว่า "นายกรัฐมนตรี" เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 โดยมีตราประจำสำนักนายกรัฐมนตรีเป็นตราราชสีห์คชสีห์รักษารัฐธรรมนูญ และเป็นตราประจำตำแหน่งนายกรัฐมนตรีไทย

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยบัญญัติที่มาของนายกรัฐมนตรี รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันระบุว่านายกรัฐมนตรีมาจากการเลือกของสภาผู้แทนราษฎร

การปฏิบัติหน้าที่

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2566 ซึ่งเป็นรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน ได้กำหนดวาระของนายกรัฐมนตรีว่า นายกรัฐมนตรีจะดำรงตำแหน่งรวมกันแล้วเกินสี่เดือนมิได้ ทั้งนี้ ไม่ว่าจะเป็นการดำรงตำแหน่งติดต่อกันหรือไม่ แต่มิให้นับรวมระยะเวลาในระหว่างที่อยู่ปฏิบัติหน้าที่ต่อไปหลังพ้นจากตำแหน่ง"[5]

นายกรัฐมนตรีอาจพ้นจากตำแหน่งเพราะถูกอภิปรายไม่ไว้วางใจ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดมีสิทธิเข้าชื่อขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรี ญัตตินี้ต้องเสนอชื่อผู้สมควรดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีคนต่อไปไว้ด้วย เมื่อเสนอญัตติแล้วจะมีการยุบสภาผู้แทนราษฎรมิได้ ทั้งนี้ เพื่อป้องกันไม่ให้นายกรัฐมนตรีหลีกหนีการอภิปราย เว้นแต่จะมีการถอนญัตติหรือการลงมตินั้นไม่ได้เสียงครบ หากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรลงมติไม่ไว้วางใจ นายกรัฐมนตรีต้องพ้นจากตำแหน่ง และมีผลให้คณะรัฐมนตรีสิ้นสุดลงทั้งคณะด้วย

การรักษาราชการแทน

ในกรณีที่นายกรัฐมนตรีไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2566 มาตรา 41 กำหนดให้รองนายกรัฐมนตรีเป็นผู้รักษาราชการ ถ้ามีรองนายกรัฐมนตรีหลายคนให้คณะรัฐมนตรีมอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งเป็นผู้รักษาราชการแทน ถ้าไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้คณะรัฐมนตรีมอบหมายให้รัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งเป็นผู้รักษาราชการแทน[6] และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2566 มาตรา 168 ได้กำหนดเพิ่มเติมว่า หากคณะรัฐมนตรีไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้หรือลาออกทั้งคณะ ให้ปลัดกระทรวงปฏิบัติหน้าที่แทนรัฐมนตรีว่าการและให้ปลัดกระทรวงคัดเลือกกันเองให้คนหนึ่งปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี

สถานที่ปฏิบัติงานและบ้านพัก

นายกรัฐมนตรีของประเทศไทยปฏิบัติหน้าที่ ณ ทำเนียบรัฐบาล ซึ่งเป็นสถานที่ราชการสำคัญที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศไทย ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 1 ถนนพิษณุโลก เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร มีเนื้อที่ทั้งสิ้น 27 ไร่ 3 งาน 44 ตารางวา

สำหรับบ้านพักประจำตำแหน่งนายกรัฐมนตรีไทย คือ บ้านพิษณุโลก ซึ่งมีสถาปัตยกรรมที่สวยงาม ออกแบบและสร้างโดย มาริโอ ตามานโญ สถาปนิกประจำราชสำนักสยามชาวอิตาลี มีเนื้อที่ 25 ไร่ 3 งาน

รองนายกรัฐมนตรี

รองนายกรัฐมนตรี มีหน้าที่ในการกำกับการบริหารราชการของกระทรวง หรือทบวงหนึ่งหรือหลายกระทรวงหรือทบวง ตามที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย รวมทั้งเป็นผู้รักษาราชการแทนนายกรัฐมนตรี ในกรณีที่นายกรัฐมนตรีไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (เรียงตามลำดับรองนายกรัฐมนตรีดังนี้)

ตำแหน่ง รายชื่อ พรรคการเมือง เริ่มดำรงตำแหน่ง ตำแหน่งที่สอง กระทรวงที่กำกับดูแล หน่วยงานที่กำกับดูแล
รองนายกรัฐมนตรี ทศพล ทองประสิทธิ์วิศวกร ที่ 2 พรรคไทยดิจิทัล 1 กันยายน พ.ศ. 2566 (ครม. 63)
3 กันยายน พ.ศ. 2567 (ครั้งที่ 1)
30 มิถุนายน พ.ศ. 2568 (ครั้งที่ 2) (ครม. 64)
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง (ครม. 63)
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐกิจ ถึง 2568
สุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ พรรคเพื่อไทย 27 เมษายน พ.ศ. 2567 (ครม. 63)
3 กันยายน พ.ศ. 2567 (ครม. 64)
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม (ครม. 63)
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม (ครม. 64)
พีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค พรรครวมไทยสร้างชาติ 1 กันยายน พ.ศ. 2566 (ครม. 63)
3 กันยายน พ.ศ. 2567 (ครม. 64)
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน (ครม. 63)
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน (ครม. 64)
พิชัย ชุณหวชิร พรรคเพื่อไทย 27 เมษายน พ.ศ. 2567 (ครม. 63)
3 กันยายน พ.ศ. 2567 (ครม. 64)
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง (ครม. 63)
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง (ครม. 64)
ประเสริฐ จันทรรวงทอง พรรคเพื่อไทย 3 กันยายน พ.ศ. 2567 (ครม. 64) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ครม. 63)

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ครม. 64)

รายชื่อนายกรัฐมนตรีไทย

อดีตนายกรัฐมนตรีไทยที่ยังมีชีวิตอยู่

ปัจจุบันมีอดีตนายกรัฐมนตรีที่ยังมีชีวิตอยู่ทั้งสิ้น 8 คน มีรายชื่อดังต่อไปนี้

ส่วนราชการในบังคับบัญชา

ส่วนราชการที่อยู่ในบังคับบัญชาขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี

ส่วนราชการที่อยู่ในบังคับบัญชาขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี ตามมาตรา 7 แห่งพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545

เชิงอรรถ

อ้างอิง

  1. พระราชบัญญัติเงินเดือนและเงินประจำตำแหน่ง พ.ศ. 2538/บัญชีอัตราเงินประจำตำแหน่งข้าราชการการเมือง, ราชกิจจานุเบกษา, สืบค้นวันที่ 15 เมษายน 2558
  2. พระราชกฤษฎีกาการปรับอัตราเงินเดือนของข้าราชการ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2554/บัญชีอัตราตำแหน่งและเงินเดือนข้าราชการการเมือง, ราชกิจจานุเบกษา, สืบค้นวันที่ 15 เมษายน 2558
  3. อภิชาติ คุณวัฒน์บัณฑิต,ประวัติสำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี, เอกสารวิชาการส่วนบุคคล:สถาบันพระปกเกล้า
  4. พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475, ราชกิจจานุเบกษา, สืบค้นวันที่ 15 เมษายน 2558
  5. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 เก็บถาวร 2017-04-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, ราชกิจจานุเบกษา, สืบค้นวันที่ 18 พฤษภาคม 2562
  6. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534, ราชกิจจานุเบกษา, สืบค้นวันที่ 15 เมษายน 2558
  7. พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๐
  8. ประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๐๐/๒๕๕๗ เรื่อง การแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรมและกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการลงทุน
  9. ประกาศ คสช. ดึง 'บีโอไอ' ขึ้นตรงนายกรัฐมนตรี
  10. คำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ ๔๖/๒๕๖๐ เรื่อง การจัดตั้งสำนักงานบริหารจัดการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๔ ตอน ๒๖๑ ง พิเศษ หน้า ๑๖ ๒๕ ตุลาคม ๒๕๖๐
  11. คำสั่งหัวหน้ำคณะรักษำควำมสงบแห่งชาติ ที่ ๑๙/๒๕๖๑ เรื่อง กลไกในการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสำมัคคีปรองดอง
  12. พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบับที่ ๒๐) พ.ศ. ๒๕๖๔ ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๘ ตอน ๑๑ ก พิเศษ หน้า ๖ ๑๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔

ดูเพิ่ม

ข้อผิดพลาด Lua ใน mw.title.lua บรรทัดที่ 359: bad argument #2 to 'title.new' (unrecognized namespace name 'สถานีย่อย')

แหล่งข้อมูลอื่น